Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแจ้งข่าวร้ายและการดูแล ผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต, นางสาวอรณิชา…
การแจ้งข่าวร้ายและการดูแล
ผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ความหมาย
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดหวัง
มีผลต่อความรู้สึก
ความสำคัญ
แพทย์เป็นผู้ที่มีหน้าที่ในการแจ้งข่าวร้าย
แพทย์จะสามารถแจ้งญาติได้โดยตรง
ผู้ป่วยเป็นโรคทางจิต
เป็นเด็ก
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะทำร้ายตนเอง
ปฏิกิริยา
ระยะปฏิเสธ
เป็นระยะแรกหลังจากผู้ป่วยและญาติทราบข้อมูล
จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
อาจจะพูดในลักษณะ
ไม่จริงใช่ไหม
คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง
ระยะโกรธ
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว
อาจจะพูดในลักษณะ
ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา
ระยะต่อรอง
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิดไว้
รู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา
ระยะซึมเศร้า
เมื่อผู้ป่วยและญาติเริ่มรับรู้สถาการณ์ที่เกิดขึ้น
จะเกิดอาการหรือความรู้สึกซึมเศร้าเกิดขึ้น
ระยะยอมรับ
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น
พยาบาลมีบทบาทดังนี้
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว ประเมินการรับรู้ของครอบครัว สอบถามความรู้สึกและความ ต้องการการช่วยเหลือ
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดาเนินโรค แนวทางการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
หมดกาลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
กลัวตาย
การเผชิญปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากครอบครัวต้องเผชิญกับการเจ็บป่วย รุนแรงของผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
ข้อสังเกต
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ความแตกต่าง
Professional culture
บุคลากรของทีมสุขภาพที่ทํางานอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติจะคุ้นชินกับการรักษาผู้ป่วย
การตายของผู้ป่วยอาจทําให้ทีมสุขภาพรู้สึกว่าเป็นความล้มเหลว
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ความไม่แน่นอนของอาการ
Multidisciplinary team
มีทีมแพทย&ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
ส่งผลให้แพทย&แต่ละสาขา มุ่งเน้นในการรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ทรัพยากรมีจํากัด
หลักการดูแลผู้ป่วย
การปรึกษาทีมpalliativecare ของโรงพยาบาลนั้นๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
แบบผสมผสาน
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วย
การสื่อสาร
ปõดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
หลีกเลี่ยงคําศัพท์แพทย์
ควรมีแผFนพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัว
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
การดูแลผู้ป่วยท่ีกําลังจะเสียชีวิต
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่างๆ
ยุติการเจาะเลือด
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทําความสะอาดใบหน้าช่องปากและร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาท่ีไม่จําเป็น
นําสายต่างๆท่ีไม่จําเป็นออก
ให้คงไว้เพียงการรักษาท่ีมุ่งเน้น
นางสาวอรณิชา ไชยชนะดวงดี 6001210255 Sec.B เลขที่ 11