Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
บทที่ 2 ศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
โอวาทปาติโมกข์
การบำเพ็ญแต่ความดี
การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
ศีล 5
ศีลข้อ 1 ไม่ฆ่าสัตว์
ศีลข้อ 2 ไม่ลักขโมย
ศีลข้อ 3 ไม่ประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 ไม่กล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 ไม่ดื่มสุราและเมรัย
ศาสนาพุทธ
อริยสัจ
ปฏิจจสมุปบาท
กฏไตรลักษณ์
นิพพาน
กฏไตรลักษณ์
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง
ทุกขัง คือ ความทุกข์
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ำ ลม ไฟ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม
คตินิมิต
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมาน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อมๆ
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่างๆ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขายอมรับความตาย
กล่าวคำอำลา
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
เตือนใจไม่ให้ประมาท
เร่งขวนขวายปฏิบัติ
ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพราก
สบายและเป็นอยู่ด้วยปัญญาที่กระทำไปตามเหตุผล
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
เศร้าหดหู่ท้อแท้
ระย่อท้อถอย
ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี
การเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี
รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี
ไม่พูดจาใส่ร้ายป้ายสีกับผู้อื่น
ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ทำให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน โอกาสที่ทำให้ติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงมาก
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี
มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเอง
สิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี
กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านสังคม
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
(1) การพยาบาลด้านร่างกาย
การดื่มน้ำลดลงหรือไม่ดื่มเลย
จมูกแห้ง
การเบื่ออาหาร
ดวงตาแห้ง
พักผ่อนให้เต็มที่
(2) การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง ท่องบทสวดมนต์หรือเปิดเทปบทสวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง
อโหสิกรรมต่อกันและกัน
มีจิตใจที่ดี คือมีสติไม่หลงตาย
จิตที่แจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์