Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ -…
บทที่ 2 หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
2.2.1 หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา (Religion) หมายถึง ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสําคัญในศาสนา 3 ประการ คือ
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนําชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ เพื่อการดํารงอยู่อย่างปกติสุข
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคําสอนสําคัญของศาสนา ได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทําความชั่วทั้งปวง การบําเพ็ญแต่ความดี การทําจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศาสนาพุทธกล่าวถึงความจริงสูงสุด ได้แก่ศาสนาพุทธกล่าวถึงความจริงสูงสุด ได้แก่
กฏไตรลักษณ์ หมายถึง กฏของธรรมชาติ ซึ่งประกอบด้วยสภาวะ 3 ประการ
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง คือความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
อริยสัจ หมายถึงคําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการซึ่งเป็นรากฐานของคําสอนพระองค์ทั้งมวล
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์หรือจางคลายจากทุกข์ตามควรแห่งฐานะตน เพื่อความสุขจากการพ้นทุกข์
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกําหนัด กําจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ํา ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ผู้ป่วยต้องเข้าใจเรื่อง ความทุกข์ด้วยว่ามนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด ต้องรู้จักทําใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา เพื่อทําให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง/หมดไป
2.2.2พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
2.2.2.1 การดูแลรักษาด้านร่างกาย
2.2.2.2การดูแลรักษาด้านจิตใจ
2.2.2.3 การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
2.2.2.4 การดูแลรักษาด้านสังคม
2.2.3 การนําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์”
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อาจถึงขั้นร้ายแรง คือ ต้องรับโทษทางกฎหมาย
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันถึงแม้ว่าความเจริญทางด้านการแพทย์จะผลิตยาต้านเชื้อได้ในราคาถูกและผู้ติดเชื้อเข้าถึงยาได้ง่าย
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง ดังตัวอย่าง ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ทําให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน โอกาสที่ทําให้ติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงมาก
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ศีลข้อนี้เมื่อดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ําดี มะเร็งปอด
2.2.4การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตามเวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
กรรมนิมิตคือเครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตามในเวลาใกล้จะดับจิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทําไว้แล้วนั้นแหละ
คตินิมิตหมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมีนรก เปรต
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนามีความเข้าใจ ดังนี้
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ในทางพุทธศาสนาถือว่าการหมดลมหายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ แต่ยังไม่นับว่ากระบวนการตายสิ้นสุดลง
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์ในร่างกายตายวันละห้าหมื่นล้านเซลส์ ความตายจึงมีอยู่ตลอดเวลาในระดับเซลส์และเนื้อเยื่อ
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ทางพุทธศาสนากล่าวว่า“มีสิ่งหนึ่งที่สืบเนื่องต่อไปจากความตาย อาจเป็นชีวิตใหม่ ภพใหม่”
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหนแต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กันที่แน่นอนคือ ทุกคนต้องตายแต่ที่ไม่แน่นอน
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ อาจหมายถึง การแบ่งมรดกความน้อยเนื้อต่ําใจคนใกล้ตัว ความโกรธแค้น ความรู้สึกถูกผิด
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจาให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศลแต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่ง
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่นกลัวถูกทอดทิ้ง กลัวเป็นภาระ กลัวตายคนเดียว
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคําอําลาหากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคําอําลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆที่เขาทําให้กับทุกคน หรือแนะนําให้เขาปล่อยวาง
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1.ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทําอะไร ได้แค่ไหนต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทํางานเป็นทีม
การดําเนินของโรคทําให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
2.ทํากิจวัตรสําคัญเท่าที่ทําได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นการปฏิบัติของมนุษย์ต่อเรื่องความตายนี้แสดงถึงความงอกงามแห่งจิตใจของมนุษย์เป็น3ขั้นด้วยกัน
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สําหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท เร่งขวนขวายปฏิบัติ
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพราก
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้ ระย่อท้อถอย
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
(1) การพยาบาลด้านร่างกาย
เมื่อคนใกล้ตายความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับ แต่ไม่จําเป็นต้องให้การรักษาใด ๆ ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
(2) การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
“จิตที่แจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์” มีความต้องการใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้าง ๆ แต่ความต้องการของคนจริง ๆ แล้วต้องการจากไปท่ามกลางคนที่รัก ญาติพี่น้อง เพื่อนพ้องน้องพี่ เพื่อให้มีเวลาสําหรับการกล่าวอําลาและทําการอโหสิกรรมต่อกันและกัน แต่มันอาจจะทําไม่ได้หรือเกิดขึ้นไม่ได้ก็ตาม ดังนั้นผู้ที่อยู่ใกล้ชิด (พยาบาล) ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี