Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
บทที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรมได้
คือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
คำว่า “วัฒนธรรม” ถูกนำมาใช้อย่างเป็นทางราชการครั้งแรก ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม5
กำหนดให้มีสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ เพื่อที่จะกำหนดดูแลในเรื่องเกี่ยวกับ วัฒนธรรม อันนำไปสู่ข้อกำหนดในเรื่องการแต่งกาย การสวมหมวก สวมรองเท้า การห้ามอาบน้ำในที่สาธารณะ และการเลิกกินหมากพลู
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2555 ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า สิ่งที่แสดงถึงความเจริญงอกงามของสังคมทั้งทางด้านจิตใจและวัตถุ
ศีลธรรม
วัฒนธรรมในการแต่งกาย
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
มารยาทที่ขัดเกลาเรียบร้อย
รู้จักควบคุมอารมณ์
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม
1) วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วมและค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกำหนดมาตรฐานพฤติกรรม
2) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ซึ่งมนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยในสังคมจนกลายเป็น “มรดกสังคม”
3) วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ซึ่งกล่าวว่าพฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกำเนิดมาจากการใช้สัญลักษณ์
สัญญาณจราจร
สัญลักษณ์ทางศาสนา
เงินตรา
ภาษา
4) วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
5) วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
6) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
วัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
1) วัฒนธรรมทางวัตถุ
สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทาง
ศิลปกรรมของมนุษย์
รูปปั้น ภาพวาด
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม
2) วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดย
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี
ทัศนะ
การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน
ความคิด ความเชื่อ ภาษา
ศีลธรรม ปรัชญา และกฎหมาย
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิตได้
ประเภทของความเชื่อ
2) ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
3) ความเชื่อแบบประเพณี
1) ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
4) ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
1) ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
2) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
1) ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
2) ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
3) ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
4) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
5) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
6) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ค่านิยมทางสังคม
ความหมาย
ฐิตินัน บุดภาพ คอมมอน (2556)
หมายถึงความคิด ความเชื่อ ความนิยม รวมทั้งพฤติกรรมและแบบแผนในการปฏิบัติ
ภาสวรรณ ธีรอรรภ (2555)
เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งค่านิยมจะนำไปสู่การเกิดพฤติกรรม
พัชรา ทิพยทัศน์ (2551)
เป็นสิ่งที่มีในตัวของบุคคลแต่ละคน และมีอิทธิพลต่อสิ่งที่คิดและสิ่งที่ทำ
ปัจจัยทางสังคม
2) โรงเรียน
3) สถาบันศาสนา
1) ครอบครัว
4) สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
5) สื่อมวลชน
6) องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
2) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
1) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
แนวคิดหลัก 5 ประการ โดย ใช้หลัก ASKED
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
หมายถึง ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแลสุขภาพตัวเอง
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
2) องค์การหรือสมาคม
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
มีโครงสร้างซึ่งสามารถมองเห็นได้
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
ระเบียบวิธีประพฤติปฏิบัติขององค์การหรือสมาคมนั้นๆ
3) องค์พิธีหรือพิธีการ
วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
พิธีแต่งงาน พิธีงานศพ การแต่งกาย
มารยาททางสังคมต่างๆ
พิธีรับขวัญเด็ก พิธีโกนจุก หรือพิธีบวชนาค
4) องค์มติหรือมโนทัศน์
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับมาจากคำสอนทางศาสนา
ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม
ความเชื่อในพระเจ้า
ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ
การมีอุดมการณ์ทางการเมือง
1) องค์วัตถุ
วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
ภาพเขียน สิ่งก่อสร้างต่างๆ
การสร้างสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายต่างๆ
ครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ความสำคัญของวัฒนธรรม
4) ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
5) ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
3) ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
6) ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
2) การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
7) ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
1) วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ สามารถจัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
2) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
3) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
1) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
4) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ