Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (ศาสนาพุทธ) -…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
(ศาสนาพุทธ)
1.การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา (ความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ) อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลส
2.หลักคำสอนในพุทธศาสนา
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ เพื่อการดำรงอยู่อย่างปกติสุข
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
ศีล 5
ศีลข้อ 3 งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 2 งดเว้นการลักทรัพย์หรือลักขโมย
ศีลข้อ 4 งดเว้นจากการกล่าวเท็จ หรือพูดโกหก
ศีลข้อ 5 งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศีลข้อ 1 งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ตัดชีวิต
ศาสนาพุทธ กล่าวถึงความจริงสูงสุด ได้แก่
กฏไตรลักษณ์
หมายถึง กฏของธรรมชาติ ซึ่งประกอบด้วยสภาวะ 3 ประการ
2. ทุกขัง
คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
3. อนัตตา
คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
1. อนิจจัง
คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
อริยสัจ
คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
1. ทุกข์
คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะบีบคั้น กดดัน ขัดแย้ง มีความบกพิร่อง
2. สมุทัย
คือ เหตุเกิดแห่งทุกข์ เอาตัวตนเป็นที่ตั้ง
3. นิโรท
คือ ความดับทุกข์ ดับความอยาก สิ้นราคะตันหา สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ
4. มรรค
คือ ทางปฏิบัตนในการออกจากทุกข์ 8ประการ
ได้แก่
สัมมากัมมันตะ (การประพฤติชอบ)
สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีพชอบ)
สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)
สัมมาวายามะ (การเพียรชอบ)
สัมมาสติ (การตั้งสติชอบ)
สัมมาสังกัปปะ (การดำริชอบ การคิดชอบ)
สัมมาสมาธิ (การตั้งมั่นชอบ)
สัมมาทิฏฐิ (การเห็นชอบ)
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัตนเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
ความดับสนิทของตัณหา การสิ้นไปของราคะ โทสะ โมหะ อายตนะ (สิ่ง) นั้นจะไม่มีอยู่อธิบายได้ดังนี้
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสมผู้ป่วยเมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรู้จักทำใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา เพื่อทำให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง/หมดไป
3.พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
1. การดูแลร่างกาย
: หมอชีวกโกมารภัจจ์ ดูแลให้พระพุทธเจ้าเสวยยาคูปรุง งา ข้างสาร ถั่วเขียว และให้ทรงสรงน้าร้อนละลายด้วยน้าอ้อย
2. การดูแลจิตใจ
: พระพุทธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยาย โพชฌงค์ที่เวฬุวัน แล้วหายจากอาการประชวร
3.การดูแลจิตวิญญาณ
: ในพรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้าทรงประชวรหนักที่เวฬุคาม เมืองเวสาลี เมื่อไกล้จะปรินิพพาน ทรงมีพระสติสัมปชัญญะ ไม่พรั่นพรึง
4.การดูแลด้านสังคม
: อัครสาวกของพระพุทธเจ้า คือพระโมกคัลลานะ ดูแลรักษาพระสารีบุตร
4.การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสนา
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม เวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
กรรมนิมิต คือเครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ในเวลาใกล้จะดับจิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้แล้วนั้นแหละ จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
คตินิมิต หมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตาย ถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมี นรก เปรตจะต้องเห็นเครื่องหมายที่จะไปเกิด เช่น เห็นกระทะทองแดง เห็นเหว เห็นหอก เห็นดาบถ้าจะไปเกิดเป็นมนุษย์ ต้องเห็นมารดา ถ้าไปเกิดเป็นเทวดา ก็เห็นปราสาท เห็นวิมาน เป็นต้น
5.หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล แต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
กล่าวคำอำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคำอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆ ที่เขาทำให้กับทุกคน
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา ให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่น กลัวถูกทอดทิ้ง กลัวตายคนเดียว
6.หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน