Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อน - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อน
การส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การดูแลความสะอาดของหู
เครื่องใช้
ผ้าสะอาด
ชามรูปไต
สาลีสะอาด หรือไม้พันสาลี 4 อัน
กระดาษเช็ดปาก
0.9% NSS หรือน้าสะอาด
วิธีปฏิบัติ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหน่ึง
สวมถุงมือ และmask
ยกเครื่องใช้ไปท่ีเตียงของผู้ป่วยจัดวางให้สะดวกในการใช้
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS หรือน้ำสะอาด เช็ดทำความสะอาดในช่องหู ใบหู และ หลังใบหู แล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาดจนแห้ง
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลความสะอาดของจมูก
เครื่องใช้
ผ้าก๊อซ
ชามรูปไต
ไม้พันสาลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
กระดาษเช็ดปาก
ถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาดหรือ 0.9% NSS
อับสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%สาลีชุบเบนซินและสาลีชุบน้ำเกลือใช้ภายนอก
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
ใช้สาลีชุบเบนซินเช็ดคราบพลาสเตอร์ออก
ใช้ไม้พันสาลีชุบน้ำหรือ 0.9% NSSบีบพอหมาดเช็ดในรูจมูกเบาโดยรอบ
สวมถุงมือ และmask
ถ้ามีสายที่คาในรูจมูก ใช้ผ้าก๊อซเช็ดสายท่ีคาในจมูกส่วนท่ีอยู่นอกจมูก รวมทั้งบริเวณจมูกให้สะอาดและแห้ง
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะสูง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย
ยกเครื่องใช้ไปท่ีเตียงของผู้ป่วยจัดวางให้สะดวกในการใช้
ลงบันทึกทางการพยาบาล
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
การดูแลความสะอาดของตา
วิธีปฏิบัติ
ใส่ถุงมือสะอาด
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS พอหมาด เช็ดจากหัวตาไปหางตา
จัดให้ผู้ป่วยนอนนอนตะแคงด้านท่ีต้องการทำความสะอาด
พลิกตัวผู้ป่วยตะแคงด้านตรงข้าม และทำความสะอาดตาอีกข้างหน่ึง
ยกของใช้ไปท่ีเตียงผู้ปุวย จัดวางให้สะดวกในการใช้
สังเกตลักษณะและจานวนของขี้ตา
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ
เก็บของใช้ทำความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย สาลีทิ้งลงถังขยะติดเชื้อ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสาลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
การทำความสะอาดตา : ผู้ป่วยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติ ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกไปวันละ 2-3 คร้ัง
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เครื่องใช้
ผ้ายางรองสระผม
เครื่องเป่าผม
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้ำทิ้ง
ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่ยาสระผม หวี หรือแปรงผม ท่ีหนีบผ้า
วิธีปฏิบัติ
ใช้สาลีชุบน้ำบีบให้หมาดใส่หูข้างละก้อน
ใช้แก้วน้ำตักน้าราดผมพอเปียก เทแชมพูใส่มือถูกันชโลมแชมพูให้ทั่วศีรษะ
ใช้หวีหรือแปรงสางผมให้ท่ัวสำหรับผู้ปุวยท่ีผมสกปรกมากและยุ่ง
ใช้แก้วน้ำตักน้าราดผมให้ท่ัวโดยราดน้ำที่ละครึ่งศีรษะ ใช้มือลูบฟอง ยาสระผมจนหมด ทำการสระผมอีกครั้ง
เลื่อนรถสระผมเทียบกับขอบเตียงวางศีรษะผู้ปุวยบนผ้าผืนท่ีม้วนรองใต้คอ จัดชายผ้ายางให้ลงในอ่างล้างผม ใช้ไม้หนีบผ้าหนีบผ้ายางให้ติดกัน
รวบปลายผมบิดให้หมาด เอาสาลีออกจากหู
รองผ้าเช็ดตัววางบนผ้าม้วนกลม แล้วรองผ้ายางบนผ้าเช็ดตัวผืนน้ัน
ปลดผ้ายางออกจากคอผู้ป่วย
จัดผู้ป่วยนอนหงายทแยงมุมกับเตียงให้ศีรษะอยู่ริมเตียง นำผ้าเช็ดตัวม้วนกลมรองไว้ใต้คอผู้ป่วย
ใช้เครื่องเป่าผม เป่าผมให้แห้ง หวีผมให้ได้ทรง
วางของใช้บนรถเข็นสระผมเคลื่อนท่ีนำไปท่ีเตียง จัดวางเครื่องใช้ให้สะดวก
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย เศษผมและสาลี
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลความสะอาดของเล็บ
เครื่องใช้
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
วิธีการปฏิบัติ
ยกอ่างน้ำออก เช็ดมือหรือเท้าให้แห้ง
ตัดเล็บให้ปลายเล็บตรงและข้างไม่โค้งไม่ตามซอกเล็บ ปลายเล็บควรปล่อยให้ยาวกว่าปลายนิ้ว
ใช้ผ้าเช็ดตัวถูสบู่พอกขัดตามซอกเล็บ ง่ามนิ้ว
ใช้ตะไบถูเล็บให้ขอบเล็บเรียบ
คลี่ผ้าเช็ดตัวรองอ่างน้ำ แช่มือ หรือเท้าสักครู่
เปลี่ยนน้ำ ล้างมือหรือล้างเท้าอีกครั้งหน่ึง เช็ดให้แห้ง
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย จัดวางให้เรียบร้อยเพื่อสะดวกในการใช้
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำความสะอาดอวัยวะเพศภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของผู้ชาย
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน พร้อมผ้าคลุมหม้อนอน ,ผ้ายางผืนเล็ก
ผ้าปิดตา
ถาดใส่ของ
ชุดชาระ (P-care set) ประกอบด้วย ชามกลม,สาลีก้อนใหญ่
สำหรับชำระ 7 ก้อนและปากคีบ (forceps) 1 ตัว
ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
น้ำสบู่หรือสบู่เหลว
กระดาษชำระ 2-3 ชิ้น
น้ำเกลือ (0.9% NSS)ใช้ภายนอกหรือน้ำสะอาด
วิธีปฏิบัติ
ใช้ forcepsในsetหยิบสาลีออกจากชามกลมวางบนผ้าห่อ 4 ก้อน วาง forceps บนผ้าห่อ
เทน้าสบู่หรือสบู่เหลว บนสาลีในชามกลมพอประมาณ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมาท่ีเตียงให้ครบถ้วน เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมาท่ีเตียงให้ครบถ้วน
ใช้มือข้างซ้ายจับองคชาตแล้วค่อยรูดหนังหุ้มปลาย
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชาระไว้ด้านปลายเท้า
เท0.9% NSS หรือน้ำอุ่นบนสาลีในชามพอประมาณ
ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก
เลื่อน bed pan ออกคลุมด้วย bed pad และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
จดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่าที่สุขสบาย
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ปุวย
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย
ยกเครื่องใช้ไปท่ีเตียงปิดประตูหรือก้ันม่านให้มิดชิด
ลงบันทึกทางการพยาบาล
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของผู้หญิง
เครื่องใช้ (เหมือนกับการทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย):
วิธีปฏิบัติ
ใช้ forceps ใน set หยิบสาลี 4 ก้อนออกจากชามกลมสำลีวางบนผ้าห่อของ แล้ววาง forceps บนผ้าห่อของ
เทน้ำสบู่หรือสบู่เหลวบนสำลีในชามกลมพอประมาณ
เตรียมเครื่องมือเครื่อใช้ต่างๆ มาที่เตียงให้ครบถ้วน
ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือข้างซ้ายแหวก labia ออก และใช้มือขวาอีกข้าง หนึ่งหยิบ forceps คีบสำลีในชาม
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชำระไว้ด้านปลายเท้า
เท0.9% NSS หรือน้ำสะอาดบนสำลีในชามกลมพอประมาณเช็ดอวัยวะ สืบพันธ์ุ
ให้ผู้ป่วยยกก้นสอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพกและจัดหม้อนอนพอดี ตรงก้น
เลื่อนbed pan ออกคลุมด้วย bed pad ปิดและเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งข้ึนไปถึงเอว
ให้ผู้ป่วยวางขาลง เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอน ในท่านอนหงายราบ
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ป่วย
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือก้ันม่านให้มิดชิด
ลงบันทึกทางการพยาบาล
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วิธีการทำความสะอาดปากและฟันผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูงหรือท่านั่งเพื่อความสะดวกของผู้ป่วย
ล้างมือและสวมถุงมือเพื่อป้องกันจุลินทรีย์ จากน้ำในช่องปากผู้ป่วยสู่
พยาบาล
นำเครื่องใช้ไปท่ีเตียงผู้ป่วย เพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง ให้ผู้ป่วยช่วยถือไว้หรือวางบนโต๊ะ คร่อมเตียงเพื่อป้องกันเสื้อผ้าและท่ีนอนเปียก
พยาบาลแนะนำตนเอง
ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาดและแปรงฟันตามขั้นตอน
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
แก้วน้ำ
ไม้พันสาลี
น้ำยาบ้วนปาก เช่นน้ำเกลือ น้ำยาบ้วนปาก
ชามรูปไต
ลูกสูบยางแดง (baby ball หรือ syringe ball
ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสาลี
syringe 10 cc
3% hydrogen peroxide
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก เช่น วาสลินทาปาก เป็นต้น
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
ผู้ป่วยท่ีมีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร และน้ำทางปากได้ ต้องทาความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สาลี ท่ีใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
แปรงฟันทุกซี่ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกม้ือและก่อนนอน
วิธีทำความสะอาดปากฟันผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้
ตรวจดูสภาพของเยื่อบุปาก เหงือก ฟัน และล้ิน
ทำความสะอาดเหมือนการแปรงฟันด้านใน ด้านบดเคี้ยวให้ท่ัว
ใช้ไม้กดล้ิน พันด้วยผ้าก๊อซเพื่อช่วยอ้าปาก
สูบฉีดล้างช่องปากให้ทั่ว ดูดน้ำออกให้หมด
ทำความสะอาดเหมือนการแปรงฟันด้านนอก และเหงือกให้ท่ัวอย่างถูกวิธี
เช็ดปากให้ผู้ป่วย ถ้าริมฝีปากแห้งทาด้วยวาสลิน
ใช้ไม้พันสาลีชุบน้ำยาบ้วนปาก
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย
ตรวจดูสภาพของปากและฟัน
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ใช้ลูกสูบยางดูดน้ำฉีดล้างช่องปากและในซอกระหว่างกระพุ้งแก้มและฟัน
การดูแลความสะอาดของผิวหนังและการอาบน้ำ
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน : เป็นการทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ป่วยไม่สารถเช็ดเองได้ เช่น บริเวณหลัง โดยอาจใช้การนั่งข้างเตียง หรือบนเตียง
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ : เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ำเช็ดตัวให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด หรือผู้ป่วยที่จำกัดการเคลื่อนไหวบนเตียง ซึ่งต้องนอนบนเตียง หรือนอนติดเตียง ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ : เป็น
การช่วยเหลือพาผู้ป่วยไปทำความสะอาดร่างกายในห้องน้า โดยมากเป็นการอาบโดยใช้ฝักบัว หรือตักน้ำอาบร่างกาย เมื่อผู้ป่วยสามารถลุกจากเตียงได้ พยาบาลช่วยพยุงเดินไปห้องน้า ช่วยเตรียมของใช้ ให้พร้อม เปิดก๊อกน้ำให้ปรับอุณหภูมิที่เหมาะสม
การนวดหลัง
เครื่องใช้
ครีมและโลชั่นทาตัวหรือแป้ง
ผ้าห่ม 1 ผืนและผ้าเช็ดตัว1ผืน
วิธีปฏิบัติ
จัดท่านอนคว่ำและชิดริมเตียงด้านพยาบาลยืนมีหมอนเล็กๆรองใต้หน้าอกศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง มือเหยียดตรงไปตามลาตัวถ้านอนคว่ำไม่ได้ให้นอนตะแคง เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ ในท่าท่ีสบายและพยาบาลนวดหลังได้สะดวก
เลื่อนผ้าห่มมาบริเวณก้นกบ ปูผ้าเช็ดตัวทับบนผ้าห่ม
ล้างมือ
ทาครีมหรือทาแป้ง (เพียงอย่างเดียว)
นำเครื่องใช้ต่างๆ มาวางที่โต๊ะข้างเตียง กั้นม่านให้มิดชิด
นวดบริเวณหลังเรียงลำดับตามขั้นตอนดังนี้
Hacking เป็นการใช้สันมือสับเบา ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับ สลับกันเร็ว
Clapping เป็นการใช้อุ้งมือตบเบาโดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันท้ังสองข้าง
สวมเสื้อผ้าให้ผู้ป่วยและจัดให้นอนในท่าที่สบาย
Strokingทำเหมือนข้อ 7.1 ทาซ้ำประมาณ 5-6 คร้ัง
Beating เป็นการกามือหลวม ทุบเบา บริเวณกล้ามเน้ือแก้ม ก้น
Kneading เป็นการบีบนวดกล้ามเน้ือ
วิธีที่ 1 วางนิ้วก้อย,นิ้วนาง,นิ้วกลางและนิ้วชี้ แนบแนวกระดูกสัน
หลัง พร้อมปลายนิ้วหัวแม่มือบีบกล้ามเน้ือไขสันหลัง เข้าหากันทำพร้อมกันท้ังสองมือ
วิธีท่ี 2 ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือ,นิ้วชี้และนิ้วกลางทั้งสองมือกดและ บีบข้างกระดูกสันหลังเข้าหากันและคลายออกทาซ้ำประมาณ 5-6 คร้ัง
Friction เป็นการใช้ฝ่ามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของ
กล้ามเน้ือไหล่ (trapezins) กล้ามเนื้อสีข้าง (latissimus dorsi) ทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน
เก็บของเครื่องใช้ไปทำความสะอาดและเก็บที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
Stroking เป็นการลูบตามแนวยาวใช้ฝ่ามือท้ังสองข้างวางที่บริเวณก้นกบ
แนะนำตนเองบอกให้ผู้ป่วยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์
หลักการนวดหลัง
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยหัวใจ ภาวะไข้
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10นาที
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
3.การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
4.การพยาบาลตอนก่อนนอน
2.การพยาบาลตอนเช้า
5.การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
1.การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
เศรษฐกิจ
อาชีพ
การศึกษา
ถิ่นที่อยู่
ภาวะสุขภาพ
ภาวะเจ็บป่วย
เพศ
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
อายุ
ความชอบ
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย : การดูแลสุขภาพตนเองเป็นส่ิงท่ีมนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทาความสะอาดร่างกาย ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานท่ีต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุก วัน เพื่ออสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
กระบวนการการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation) : ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความปากและฟัน เส้นผมและหนังศีรษะและอวัยวะสืบพันธ์ุ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกาย
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่าย
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติท่ีอาจ
เกิดข้ึนระหว่างการดูแล
ประเมินความชอบความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินระดับความสามารถในการดูแลตนเอง
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 2(หลับตื้น)การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพท่ีไม่ได้ยินเสียงรบกวน จากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝันระยะน้ีจะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ระยะท่ี 3(หลับปานกลาง)ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติ รู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง แม้ได้รับส่ิงเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นน้ีจะใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 1(เร่ิมมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับท่ีเปลี่ยนจากการตื่นไปสู่การ นอน ในคนท่ัวไปใช้เวลาต้ังแต่ 30 วินาที - 7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 4(หลับลึก)เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะท่ี 4 นี้ อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้ ระยะนี้อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี้
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเน้ือ ต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทางานกันหมดแต่ระบบการทางานของหัวใจกระบังลมเพื่อการ หายใจ กล้ามเน้ือตา และกล้ามเนื้อเรียบ เช่น หลอดเลือดและสาไส้ โดยในช่วงนี้ตาจะกลอกไปซ้าย ขวาอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะได้พักผ่อน แต่สมองจะยังต่ืนตัวอยู่ ระยะนี้ช่วยจัดระบบความจา ทาให้จา เรื่องบางเร่ืองได้นานข้ึน ระยะนี้นี่เองเป็นระยะท่ีคนเราจะฝัน แต่ก็จะต่ืนง่าย เพราะสมองยังทางาน เหมือนระยะที่ 1 ของ NREM
ในขณะที่นอนหลับสรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปน้ีลดลง
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิคจะลดลง10-30 mmHg ขณะหลับสนนิท
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆคลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.1-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ปริมาณปัสสาวะลดลง
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ10-15
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ภาวะหลังไข้หลังผ่าตัด
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ
อายุ
ปัจจัยภายนอก
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
แสง
อาหาร
อุณหภูมิ
ยา
เสียง
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลง มีอาการหวาดระแวงและหูแว่ว
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้ เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอ ทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆเช่น อาการเมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน ความทนต่อความเจ็บปวดลดลง
ผลกระทบทางสังคม บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทางสังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลงและมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและการนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia ป็นการนอนหลับมากหรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่งจะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในท่ีไม่ควรหลับ เช่น หลับขณะขับรถยนต์ หรือรอรถติดไปแดง หลับในห้องประชุม หลับขณะรับประทานอาหาร เป็นต้น
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่นหรือจากตื่นมาหลับ
ได้แก่ อาการขากระตุกขณะกาลังหลับ ละเมอพูด ศีรษะโขกกาแพง
กลุ่มอาการที่เกิดข้ึนขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ได้แก่ ภาวะฝันร้าย ภาวะผีอำ เป็นต้น
ความผิดปกติของการตื่น ได้แก่ อาการสับสน ละเมอเดิน,ฝันร้าย
กลุ่มอื่นๆได้แก่ การนอนกัดฟัน การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ
การกรน การไหลตาย เป็นต้น
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์ ส่วนใหญ่มีสาเหตุเดียวกับการนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราวแต่มีเวลานานกว่า
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
โรคทางอายุรกรรม เช่น โรคสมองเสื่อม วัยทอง โรคหอบหืด
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด เช่น สเตียรอยด์ คาเฟอีน
โรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวล
โรคของการนอนหลับโดยตรง เช่น อาการขากระตุกเป็นพักระหว่างหลับ การหยุดหายใจเป็นพักระหว่างหลับ การนอนเกิดขึ้นช้าและตื่นสายกว่าคนท่ัวไป
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว เป็น การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาตึงเครียดในชีวิต อาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM ได้แก่ ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกาย อ่อนล้า และขาดสมาธิ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM ได้แก่ เมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก เวียนศีรษะทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ภูมิต้านทานลดลง ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมที่สึกหรอ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
กลิ่น
แสงสว่าง
เสียง
ความเป็นส่วนตัว
อุณหภูมิ
ความอบอุ่น
ความพร้อมของอุปกรณ์
ความสะอาด
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90องศา
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายสำหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยนอิริยาบถ
Dorsal position (supine position)เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดกัน
ความหมายของพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้
ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ท่ีจะทาให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำ กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย เช่น ไปห้องน้ำด้วยตนเอง เป็นต้น
การนอนหลับ เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการ ทางานของร่างกายด้านอื่น โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่างๆของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย ได้แก่ ระดับการรู้สติลดลง มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง อวัยวะทุกส่วนทำงานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจ
การพักผ่อน (Rest) หมายถึง ผ่อนคลาย และมีความสงบท้ังจิตใจและร่างกาย รวมถึงความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การทำเตียง
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสะดวก
เครื่องใช้
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
เครื่องใช้อื่นๆ ตามความจำเป็น เช่น เสาน้ำเกลือ เครื่องดูเสมหะ เครื่องดูดสารคัดหลั่ง
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
ถังบรรจุน้ำย่าฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์ฟอกล้างและผ้าเช็ดเตียง
เครื่องผ้าเหมือนทำการเตียงว่าง
วิธีปฏิบัติ
พับผ้าคลุมเตียงซ้อนผ้าห่มทบไปมาไว้ท่ีริมเตียง ด้านตรงข้ามท่ีจะรับ
ผู้ป่วยข้ึนเตียง เพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้ายข้ึนเตียง
วางเครื่องใช้ต่างๆใกล้เตียง หากผู้ป่วยต้องงดน้าและอาหารทางปาก ให้นาป้าย “งดน้ำและอาหารทางปาก” ไว้ที่ปลายเตียง
ถ้าเตรียมรับผู้ป่วยท่ีไม่รู้สึกตัว ให้พิงหมอนไวที่พนักหัวเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้าผสมผงซักฟอก ถังน้าสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า เหมือนการทาเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและmask
วิธีปฏิบัติ
เหน็บผ้าด้านหัวเตียง และปลายเตียงให้เรียบร้อย
ปูผ้ายางให้ม้วนด้านหน่ึงชิดหลังผู้ป่วยเหน็บชายผ้ายางเข้าใต้ที่นอน
วางผ้าปูท่ีนอนตามยาวซีกด้านตู้ข้างเตียง ผ้าอยู่ตรงกลางท่ีนอน ปล่อยชายผ้าห้อยลงอีกครึ่งหนึ่งม้วนชิดหลังผู้ป่วย
ปูผ้าขวางเตียงให้สูงเลยขอบด้านบนของผ้ายางประมาณ 2 นิ้ว และให้ม้วนด้านหนึ่งชิดหลังผู้ป่วยเหน็บชายผ้าขวางเตียงเข้าใต้ที่นอน
ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก เช็ดที่นอนด้วยน้ำผสมผงซักฟอก เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด รอให้น้ำแห้ง
พลิกตัวผู้ป่วยให้นอนหงายก่อน แล้วค่อยพลิกนอนตะแคง หันหน้าไปทางด้านที่เปลี่ยนผ้าใหม่
ตลบม้วนผ้าปูที่นอนเช่นเดียวกัน
พลิกตัวผู้ป่วยให้นอนหงาย
ตลบม้วนผ้าขวางเตียงและผ้ายางให้ด้านบนของผ้าอยู่ด้านใน ม้วนชิดหลังผู้ป่วย
พลิกตัวผู้ป่วยให้นอนหงายก่อนแล้วค่อยพลิกนอนตะแคง
เดินกลับมาด้านตู้ข้างเตียง รื้อเตียงด้านตู้ข้างเตียง โดยดึงชายผ้าที่เหน็บใต้ท่ีนอนออกทุกช้ิน
เช็ดที่นอนซีกท่ีเหลือด้วยน้ำผสมผงซักฟอกให้สะอาด เช็ดแห้งด้วยน้ำสะอาด รอให้น้าแห้ง
ทำเตียงท่ีละด้านโดยทำด้านตู้ข้างเตียงก่อน เดินอ้อมไปด้านตู้ข้างเตียงก่อน
ล้างถังน้ำผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ไขเตียงลงให้ราบเก็บท่ีไขเตียงเข้าที่
เดินอ้อมไปด้านตรงข้ามตู้ข้างเตียง พร้อมนำถังเช็ดเตียงไปด้วยรื้อผ้าออกโดยดึงชายผ้าท่ีเหน็บไว้ใต้ที่นอนออกทุกชิ้น
เตรียมเครื่องใช้ไปท่ีเตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้ำใต้เตียง
ดึงผ้าปูผ้าบนที่ม้วนชิดหลังผู้ป่วยไว้ทีละชิ้นจากชั้นล่างข้ึนมาทีละช้ินดึงให้เรียบตึง ทำมุมและเหน็บผ้าเข้าใต้ที่นอนให้เรียบร้อย
ถอดนาฬิกาใส่mask ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและสวมถุงมือสะอาด
ดึงผ้าปูที่นอน ผ้ายาง และผ้าขวางเตียงชุดเก่าออกม้วนให้เข้าด้านใน ดึงออกม้วนทิ้งลงถังผ้าเปื้อน
แนะนำตัวและบอกผู้ป่วยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการทำเตียง
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้งและลงบันทึกทางการพยาบาล
ห่มผ้าให้ผู้ป่วยหรือผ้าupper sheetทำมุมผ้าปลายเตียงให้เรียบร้อย
ยกศีรษะผู้ป่วยเปลี่ยนปลอกหมอน การถอดและใส่ปลอกหมอน
เติมน้ำในเยือกให้ใหม่เปลี่ยนแก้วน้ำให้ใหม่
นำผ้าเปือนทิ้งลงถังผ้าเปื้อน
เช็ดหัวเตียงตู้ข้างเตียงเก้าอี้และจัดของให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากจากเตียงได้
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาดและผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า เหมือนการทาเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและmask
วิธีปฏิบัติ
เร่ิมรื้อผ้าเหมือนการทำเตียงว่าโดยม้วนด้านนอกไว้ด้านใน
ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก แล้วเช็ดทำความสะอาดหมอน ที่นอน เตียง ตู้ข้างเตียงและเก้าอี้ เช็ดตามด้วยน้ำสะอาด รอให้น้ำแห้ง
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงพาดผ้าท่ีพนักเตียงวางถังน้ำใต้เตียง
กลับท่ีนอนอีกด้านและเช็ดให้สะอาดเหมือนข้อ 6
ถอดนาฬิกาใส่mask ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและสวมถุงมือสะอาด
ปูท่ีนอนใหม่ เหมือนการทำเตียงว่าง
แนะนำตัวและบอกผู้ป่วยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการทำเตียง
พับผ้าห่มเป็นทับซ้อนกับไปมาคล้ายพัดไว้ท่ีปลายเตียง
จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าที่ทิ้งผ้าเก่าท่ีเปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
เติมน้ำในเยือกให้ใหม่เปลี่ยนแก้วน้ำให้ใหม่
ล้างถังน้ำผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ถอดถุงมือ ถอด maskและล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำเตียงว่าง
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า : ผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ปลอกหมอน ผ้าคลุมเตียง ผ้าห่ม
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
วิธีปฏิบัติ
เก็บเยือกน้ำแก้วน้ำ,กระโถนและเครื่องใช้อื่นจัดบริเวณเตียงให้มีท่ีว่างพอควร
วางหมอนที่พนักหัวเตียงหรือบนตู้ข้างเตียง สำรวจรอยชำรุดของที่นอน
นำถังท่ีสะอาดและกระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอกและผ้าเช็ดเตียงวางไว้ใต้เตียง
รื้อผ้าทุกช้ินโดยดึงชายผ้าที่เหน็บไว้ใต้ท่ีนอนออกมาท้ังหมด
นำเครื่องผ้าที่เตรียมไว้ที่เรียงลำดับการใช้มาพาดไว้ที่ปลายเตียงด้านโต๊ะข้างเตียงหรือบนเก้าอี้ที่สะอาด
ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก
สวมถุงมือและผ้ากันเปื้อนพลาสติก
คลี่ผ้าปูท่ีนอนให้รอยพับกึ่งกลางตามความยาวของผ้าอยู่ตรงกึ่งกลางที่นอน เพื่อให้ชายผ้าเท่ากันท้ังสองข้างและเหน็บผ้าปูท่ีนอนเข้าใต้ที่นอนท้ังหัวเตียงและปลายเตียงให้เรียบร้อย
ถอดนาฬิกา และสวม mask
ปูผ้ายางในลักษณะขวางกับเตียงบนผ้าปูที่นอนระหว่างกึ่งกลาง
ล้างมือให้สะอาดก่อนจัดเตรียมเคร่ืองใช้และส่ิงแวดล้อม เตรียมของใช้ให้พร้อม นาไปท่ีเตียงผู้ปุวย
ปูผ้าขวางเตียงทับบนผ้ายางในลักษณะเดียวกันแล้วเหน็บผ้าส่วนที่ขวางลงใต้ ผ้ายางประมาณ 2 นิ้วเพื่อเป็นการป้องกันผ้ายางถูกผิวหนังผู้ป่วย
ปูผ้าห่ม แบบเดียวกับผ้าปูที่นอน คลุมหมอนให้มิดชิด แต่ทาชายธงเฉพาะปลาย เตียงไม่ต้องเหน็บผ้าด้านข้าง
จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าท่ี ทิ้งผ้าท่ีเปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
เก็บเหยือกและแก้วน้ำทำความสะอาด ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ล้างถังน้ำ ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือและmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
หลักปฏิบัติการทำเตียง
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูท่ีนอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวท่ีราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของท่ีนอน
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ปุวย
จัดบริเวณรอบให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะท่ีดี
หันหน้าไปทิศทางในงานท่ีจะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่ำเสมอ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน : วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและ
ปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล
ไม่ให้ดื่มน้ำหลัง6โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
ให้มีกิจกรรมทำในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ ดูทีวี เป็นต้น
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ป่วย
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
จัดส่ิงแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดส่ิงรบกวน
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด และการจัดการกับความเครียด
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา และดูแลความปลอดภัย อาจเกิดอุบัติเหตุ เช่น การพลัดตกเตียง การลื่นล้ม เป็นต้น
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ
การวินิจฉัยทางการแพทย์ : พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเน่ืองจากมีความวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากข้ึน
การประเมินภาวะสุขภาพ
S: “นอนไม่หลับมา 3 วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตัวตื่น ”
O: จากการตรวจร่างกาย พบ ท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น ขอบตาทั้งสองข้างเขียว เหมือน คนอดนอนมาหลายวัน วัดสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่มีไข้ ชีพจร และการหายใจปกติ ความดัน โลหิตปกติ