Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์, นางสาว ชุติมณฑน์…
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนดและน้ำหนักตัวน้อย
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์เต็ม และมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม
ลักษณะของทารกคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวน้อย
รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า
ไขเคลือบตัวมีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อนได้ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
กล้ามเนื้อมีกำลังน้อย
กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครง ยังเจริญไม่ดี กระดูกซี่โครงค่อนข้างอ่อนนิ่ม
ขณะหายใจอาจเกิด Intercostals retraction
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
reflex ต่างๆ มีน้อยหรือไม่มี
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย ใบหูอ่อนนิ่ม เป็นแผ่นเรียบ และงอพับได้ง่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอ
เสียงร้องเบา
ผลกระทบของภาวะคลอดก่อนกำหนดต่อทารก
ระบบหายใจ
ศูนย์ควมคุมการหายใจใน medulla ยังเจริญไม่เต็มที่
กล้ามเนื้อช่วยการหายใจไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดPeriodic breathing
ปอดพัฒนาไม่เต็มที่ ทำให้เกิด RDS
ระบบประสาท
hypo-hyperthermia
ROP
intraventricular hemorrhage
ระบบหัวใจและระบบเลือด
patent ductus arteriosus
hyperbilirubinemia
ระบบทางเดินอาหาร
necrotizing enterocolitis
malnutrition
ระบบภูมิต้านทาน
sepsis
ระบบเมตาบอลิซึมและต่อมไร้ท่อ
Hypoglycemia
Hypercalcemia
congenital hypothyroidism
การพยาบาล
ห่อตัวทารกและให้อยู่ใต้ radiant warmer
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลให้ได้รับนมมารดาหรือนมผสมตามแผนการรักษา
ดูแลและแนะนำมารดาบิดาในการป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลให้วิตามินเค 1 มิลลิกรัม
ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์
ทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 4,000 กรัม ในทารกคลอดครบกำหนด
สาเหตุ
มารดาเป็นเบาหวาน
ผลกระทบต่อทารก
คลอดยาก
Hypoglycemia
Hyperbilirubinemia
Polycythemia
แคลเซียม/แมกนีเซียมต่ำ
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับนมมารดาภายหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ป้องกันปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือด
เฝ้าระวังอาการอย่างใกล้ชิด ผิดปกติรายงานแพทย์
ทารกคลอดเกินกำหนด
ทารกที่เกิดเมื่อGAมากกว่า 42 wks
ลักษณะของทารกคลอดเกินกำหนด
มีภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ผิวหนังเหี่ยวย่น หลุดลอก
ผมและเล็บยาว
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม มีลักษณะขาดสารอาหาร แต่ตื่นตัว
หน้าตาแก่กว่าเด็กทั่วไป
การพยาบาล
ระยะรอคลอด
ติดตาม EFM ทุก 1-2 hr
ติดตามผลการประเมินปริมาณน้ำคร่่ำ
ระยะคลอด
ป้องกันการบาดเจ็บจากการคลอด
ระยะหลังคลอด
ดูดสิ่งคัดหลั่งจากปากและจมูกให้ดี
นางสาว ชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21