Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผลในกระเพาะอาหาร (Peptic ulcer) - Coggle Diagram
แผลในกระเพาะอาหาร
(Peptic ulcer)
ความหมาย
•โรคแผลในกระเพาะอาหาร(gastric ulcer) หรือ แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น(duodenal ulcer)
•มีการทาลายเยื่อบุผิวกระเพาะหรือลาไส้ส่วนต้น ต่อมาน้าย่อยและน้ากรดที่กระเพาะสร้างขึ้นจะย่อยทาลายซ้าเพิ่มเติมบริเวณนั้นให้เป็นแผลใหญ่ขึ้น กลายเป็นแผลเรื้อรัง
สาเหตุ
•เกิดจากความเสียสมดุลระหว่าง ปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้
สาเหตุสาคัญของการเกิดแผลเพ็ปติก
1.การติดเชื้อเอชไพโลไร(H.pylori)
การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ได้แก่ แอสไพริน และกลุ่มยาแก้ปวดข้อ (เช่น อินโดเมทาซิน, ไอบูโพรเฟน, นาโพรเซน ฯลฯ)
3.ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ
กรรมพันธุ์
การสูบบุหรี่
ผู้ที่มีเลือดกลุ่มโอ อาจเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่ลeไส้เล็กส่วนต้นมากกว่าปกติ
ความเครียดทางอารมณ์
•แอลกอฮอล์
อาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้ำส้ม น้ำผลไม้
อาการ
•มักมีอาการปวดท้องเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอก หรือใต้ลิ้นปี่
• ลักษณะการปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าวก่อนเวลาอาหาร บางครั้งอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน หรือเรอเปรี้ยว
•ในผู้ป่วยที่มีแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้นมักมีอาการปวดท้อง หลังอาหารประมาณ 1-3 ชั่วโมง หรือขณะท้องว่าง
อาการแทรกซ้อน
ภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือ ลำไส้เล็กส่วนต้น ผู้ป่วยจะมีอาการอาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายอุจจาระดำส่วนมากเลือด
ภาวะโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กได้
แผลอาจกินลึกจนเป็นรูทะลุเรียกว่า แผลเพ็ปติกทะลุ (Peptic perforation)
การวินิจฉัย
•ส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลำไส้ หรือเอกซเรย์โดยการกลืนแป้งแบเรียม
การรักษา
มีอาการอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดำให้สารน้ำ
• ให้ยาแก้อาการปวดท้อง และลดอาการอาเจียน ถ้ามีอาการปวดท้องรุนแรง ปวดท้องติดต่อกันนานเกิน 6 ชั่วโมง อาเจียนรุนแรง หรือมีอาการท้องแข็ง
• ถ้าตรวจพบว่ามีภาวะแผลเพ็ปติกทะลุ หรือ กระเพาะหรือลาไส้ตีบตัน จาเป็นต้องผ่าตัดด่วน
•ให้งดน้ำงดอาหาร
•การรักษานอกจากให้ยาลดกรด บรรเทาอาการแล้ว ยังต้องให้ยารักษาแผลเพ็ปติกกลุ่มอื่นๆซึ่งขึ้นกับสาเหตุของ การเกิดโรค
•ถ้ามีอาการปวดแสบ หรือจุกเสียดตรงใต้ลิ้นปี่ก่อนหรือหลังอาหาร หรือตอนดึก ๆ เป็นครั้งแรก ให้ยาลดกรด