Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาวสุพรรษา เเย้มวาที…
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก
ภาวะชักจากไข้สูง(Febrile Convalsion)
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary Febrile Convalsion 》ไม่มีความผิดปกติทางสมอง
Secondary Febrile Convalsion 》มีความผิดปกติทางสมอง
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
หากมีอาการชักเกิน 5 นาทีต้องทำให้ชุดชักเร็วที่สุด ให้ยาระงับอาการชัก เช่น diazepam ทางIVหรือทางทวารหนัก
การให้ยาลดไข้+การเช็ดตัวลดไข้ (ขณะชักห้ามให้กินยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก 》 การซักประวัติ/ตรวจร่างกาย ให้ยาป้องกันการชักทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital,Depakine
โรคลมชัก(Epilepsy)
ชนิดตามลักษณะการชัก 2 ชนิด
Partial seizure 》ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary Generalized seizure 》ไม่มีความผิดปกติของระบบประสาท
Secondary Generalized seizure 》มีความผิดปกติของระบบประสาท
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อทางสมอง
Developmental and degenerative disorders
Metabolic เเละ Toxic etiologies
การรักษา
การใช้ยาระงับอาการชักเเละยาป้องกันการชักซ้ำ
การรักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet 》ไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
การให้คำเเนะนำที่สำคัญกับผู้ปกครอง
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปี
ห้ามหยุดยาเอง เเนะนำวิธีการป้องกันอุบัติเหตุจากการชัก
มาตรวจตามเเพทย์นัดเพื่อประเมินอาการ เเละปรับขนาดยา
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
การจัดท่านอนราบ ตะเเคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยสำลักน้ำลาย เสมหะ ไม่ผูกรัดผู้ป่วยขณะชัก เพื่อป้องกันกระดูกหัก
ดูเเลทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการดูดเสมหะ
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจนตามเเผนการรักษา
การเตรียมไม้กดลิ้นไว้ข้างเตียงในรายที่มีการชักเกร็ง
การดูเเลให้ได้รับยาตามเเผนการรักษา
ขณะผู้ป่วยชัก ต้องป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ
หลังให้การพยาบาล ต้องยกไม้กั้นเตียวขึ้นทุกครั้ง
สังเกตเเละบันทึกลักษณะอาการชัก เเละระดับความรู้สึกตัว
วัด vital อย่างน้อยทุก 4 ชม.
การให้คำเเนะนำเเละเตรียมความรู้เเก่บิดามารดา
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อระบบประสาท
ภาวะชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองเเละเนื้อสมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อเเบคทีเรีย
เชื้อรา
การวินิจฉัย
Cerebrospinal fluid test(CFT) 》ภาวะปกติ
》WBC ไม่พบ
》Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งน้ำตาลในเลือด)
》RBC ไม่พบ
》Protein 14-45 mg/dl
》BP เด็กโต = 110-150 mmHg. BP ทารก = 100 mmHg.
การวิเคราะห์ผลตรวจ CFT
ไวรัส
》ลักษณะ ใส
》BP 110-150 mmHg.
》Glucose ปกติ
》Protein ปกติ
》WBC 10-100
TB
》ลักษณะ ใส เหลือง อ่อน
》WBC 25-500
》Glucose ต่ำ
》Protein ไม่พบ
》BP > 200 mmHg.
เเบคคทีเรีย
》ลักษณะ ขุ่น
》WBC 100-10,000
》BP > 180 mmHg.
》Glucose ต่ำ
》Protein สูง
อาการเเละอาการเเสดง
อาการเเสดงติดเชื้อ เช่น มีไข้ ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการเเสดงการระคายเคืองที่เยื่อหุ้มสมอง
Kernig's sign 》ผล Possitive
Brudzinski's sign 》ผล Possitive
คอเเข็ง(Stiffness of neck)
การรักษา
การรักษาเฉพาะ 》ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลัง
การรักษาตามอาการ 》ให้ยาลดไข้ ยากันชัก ยาลดบวม การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การเจาะคอเพื่อช่วยในการหายใจ
การป้องกัน》การฉีดวัคซีน เช่น Hib,JE,BCG
สมองอักเสบ(Encephalitis)
สาเหตุ
เชื้อเเบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
อาการเเละอาการเเสดง
ไข้สูง ปวดศีรษะ Stiffness of neck
ซึมลง ชัก เพ้อ คลั่ง
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
การให้ออกซิเจน,การใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวม
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำที่เข้า-ออก ของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบ (Japanese encephalitis)
อาการเเละอาการเเสดง
มีไข้ ปวดเมื่อ อ่อนเพลีย อาเจียน ง่วงซึม
บางรายชักเกร็งกระตุก หายใจไม่สม่ำเสมอ
รายที่รุนเเรงมากจะถึงเเก่กรรมวันที่ 7-9 ของโรค
การวินิจฉัย การตรวจ IgM antibody เฉพาะต่อไวรัส JE ในน้ำไขสันหลัง/เลือด
การรักษา
การรักษาเฉพาะใน Intensive care unit
การให้ยาลดไข้ ลดยาบวม ระงับอาการชัก
การดูเเลทางเดินหายใจให้โล่ง
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะความดันในช่องกระโหลกศีรษะสูง
ภาวะน้ำไขสันหลังคั่งในโพงสมอง(Hydrocephalus) ชั้น ventricle เเละ subarachnoind space
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากกว่าปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการเเละอาการเเสดง
ศีรษะโต/หัวบาตร(cranium enlargement)
เด็กเล็กกระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางเเละมองเห็นเส้นเลือดดำชัดมากกว่าปกติ
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงล่าง serting sun sign
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง พัฒนาการเเละการเจริญเติบโตช้า
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย(transillumination test)
Ventriculography
CT scan,Ultrasound,HC
การรักษา
การผ่าตัดรักษาสาเหตุ
การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง(Shunt)》 Ventriculo-peritoneal Shunt(V-P Shunt)
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง(Diamox)
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกระโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
วัดเส้น HC ทุกวันเวลาเดียว
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
อาจเกิดเเผลกดทับบริเวณศีรษะ
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดผิวหนัง เเละประเมินเเผลกดทับ
จัดให้นอนบนที่นุ่มๆ ใช้หมอนรองศีรษะไหล่
การพยาบาลหลังผ่าตัด
การติดเชื้อที่เเผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป(เน้นนอนราบหลังผ่าตัดใน 24 ชม.เเรก)
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
โรคสมองพิการ(Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด》การมีเลือดออกจากช่องคลอดช่วงการตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9 ภาวะขาดสารอาหาร เเละภาวะเเทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด》สมองขาดออกซิเจน หรือได้รับอันตรายจากการคลอด
ระยะหลังคลอด 》การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ตัวเหลือเมื่อเเรกเกิด การได้รับสารพิษ
อาการเเละอาการเเสดง
อ่อนปวกเปียก หายใจช้า พัฒนาการช้า
การเคลื่อนไหวขาดความสมดุล เสียการทรงตัว
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้เเก่ diazepam ,bacfen
การทำกายภาพบำบัดเเขนขา
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนที่ไม่เสียหายมีการพัฒนา
การให้คำเเนะนำผู้ปกครองในการส่งเสริมเด็กในการฝึกทักษะส่วนต่างๆ
การพยาบาล
การได้รับสารอาหารตามความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
เสี่ยงพัฒนาการช้า เนื่องจากความบกพร่องระบบประสาท
เสี่ยงได้รับการบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว
บิดา เเละมารดาขาดความรู้ในการดูเเลเด็ก
โรคที่เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน(Guillain Barre's Syndrome)
สาเหตุ 》 ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานผิดปกติ โดยสร้าง Antibodyต่อ Myelin sheath ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถสั่งงานกล้ามเนื้อได้ตามปกติ
อาการเเละอาการเเสดง
Sensation 》อาการเหน็บชา เจ็บ ปวดโดยเฉพาะปลายเเขนปลายขา เริ่มด้วยคล้ายตะคริวเเล้วมีการอ่อนเเรง
Motor 》กล้ามเนื้ออ่อนเเรง(Flaccid motor paralysis) ที่ขาทั้ง 2 ข้าง
อาการของประสาทสมอง》โดยเฉพาะใบหน้า เส้นประสาทคู่ที่ 7 มีอัมพาตหน้า ปิดตา ปากปิดไม่สนิท
อาการลุกลามประสาทอัตโนมัติ 》หัวใจเต้นผิดจังหวะ BP ไม่คงที่ หน้าเเดง เหงื่อออก ปสว.คั่ง
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมา(Plasma Exchage)
การรักษาด้วย IVIG (ราคาสูงเเละกลับเป็นซ้ำได้มากกว่า)
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันเเละต่อเนื่อง
วัด Vital sign โดยเฉพาะ RR ต้องมีการวัด vital capacity,tidal volume,minute volume
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ
ติดตามเเละประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส สภาวะของ motor sensory
ดูเเลให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
สังเกตอาการปวดกล้ามเนื้อ
การประคับประคองทางด้านจิตใจ
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง ซึ่งมีถุงยื่นผ่านออกมาจากกระดูกไขสัน(Spina bifida)
ประเภทของ Spina bifida
Spina bifida occulta
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotien ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา 》 การเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปสว. เนื่องจากน้ำคั่งของปสว.
ทำ Crede'manuever ทุก 2-4 ชม.
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic
มีกล้ามเนื้ออ่อนเเรง เนื่องจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองให้ช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
การสังเกตอาการอ่อนเเรงของเเขนขา การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ/ปสว.
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำเเตก
จัดท่านอนตะเเคง/คว่ำ
ดูเเลผิวหนังให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดบาดเเผล
การประเมินการติดเชื้อ
กลุ่มอาการดาวน์(Down's syndrome)
สาเหตุ
ความผิดปกติโครโมโซมคู่ที่ 21
มารดามีอายุมากกว่า 30 ปีเเละชัดเจนมากถ้าอายุ 35 ปี
บิดามารดาของผู้ป่วยมีโครโมโซมผิดปกติ
อาการเเสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก(hypotonia)
หัวเเบนกว้าง(brachiocephaly)
หูติดอยู่ต่ำ ปากอ้าเเละลิ้นมักยื่นออก
เส้นลายมือมักพบ ulnar loop มากกว่าปกติ เเละพบ distal triradius ในฝ่ามือ
การเจริญเติบโตช้า
การรักษา
กระตุ้นพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งเเต่อายุยังน้อย(early stimulation)
การรักษาโรคทางกายอื่นๆร่วมด้วย คือ โรคหัวใจ ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ภาวะฮัยโปไทรอยด์เเละอื่นๆ
การให้คำปรึกษาเเละเเนะนำด้านพันธุกรรม
นางสาวสุพรรษา เเย้มวาที เลขที่ 42 รุ่น 36/2 612001123
เเหล่งที่มา
ธีระ ทองง .2558.Spina Bifida[ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ก.ค.2563.
สืบค้นได้จาก
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=124:spina-bifida&catid=43&Itemid=462
เเหล่งที่มา
จุไรรัตน์ วัชรอาสน์.2562. การพยาบาลเด็กโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ[ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ก.ค.2563.สืบค้นได้จาก
http://164.115.41.60/excellencecenter/?p=340