Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
💊ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ 💊 Drug used in Autonomic Nervous…
💊ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ 💊
Drug used in Autonomic Nervous System ✨👩🏻🔬 💊💉
ยาที่ออกฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้น
Sympathetic Nervous System :stuck_out_tongue:
ยาปิดกั้น Adrenergic receptor :forbidden:
(Adrenoceptor Blocking Drugs)
อธิบาย
ยาในกลุ่มนี้เรียกว่า Adrenergic blocker หรือ ยาSympaththolitic ยาที่ใช้ในปัจจุบันออกฤทธิ์ปิดกั้น Adrenergic receptors มีผลทางเภสัชวิทยาที่ต่างกัน ขึ้นกับความจำเพาะ Alpha Beta receptor subtype
4.1 α-adrenergic antagonist
เช่น Prazosin , Doxazosin
รักษาความดันโลหิตสูง ต่อมลูกหมาก
อาการค้างเคียงและความเป็นพิษ
การที่ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอิริยาบท ซึ่งมักพบบ่อยจากการใช้ยาในระยะแรกๆ
4.2 β-adrenergic antagonist (β-blocker)
4.2.1 Non-Selective β-blocker
ได้แก่ Propanonol , Timolol , Sotalol
Propanonol
จัดเป็นยาต้นแบบ beta - blocker ยับยั้ง β1 และ β2 receptor ดูดซึมได้ดีมากแต่มี First pass metabolism สูง ประโยชน์ทางการรักษา
ลดอาการสั่น และ มือสั่น ในผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ และ ลดหัวใจเต้นเร็ว ป้องกันอาการใจสั่นจากสาเหตุต่างๆ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ลดอาการตื่นเต้นได้ง่ายทำให้เกิดภาวะสงบ
4.2.2 Selective β-blocker
ได้แก่ Atenolol , Metaprolol
Atenolol , Metaprolol
เป็น Selective β1-blocker ใช้ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก และ เป้นยาสำคัญเพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้อมเหลวจากกล้ามเนท่อหัวใจขาดเลือด
ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจ ช้ากว่า 45 ครั้ง/นาที
นอกจากนี้ยายังสามารถใช้ห้องกันไมเกรน
ใช้รักษาผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ ร่วมกับยาไทรอยด์
อาการข้างเคียงและความเป้นพิษ
1.ระบบหัวใจ และ หลอดเลือด propranolol ทำให้หัวใจเต้นช้า เกิดจากการปิดกั้นตัวรับ β ที่หัวใจและหลอดเลือด และ Atrioventricular block
ระบบหายใจ จากการปิดกั้น β2 อาจทำให้หลอดลดตีบแคบ ผู้ป่วยโรคหืดหอบไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้ :no_entry:
ยากลุ่มนี้มีผลกับระบบต่อมไร้ท่อ และ กระบวนการเมทาบอลิสซึม จึงอาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ของคนไข้เบาหวาน
ระบบประสาท อาจพบอาการ ปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
หัวใจเต้นผิดจังหวะ แม้ว่ายากลุ่มนี้จะสามารถรักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ แต่สามารถชักนำให้เกิดได้โดยเฉพาะเมื่อหยุดยากระทันหัน
ยากระตุ้นระบบประสาทSympathetic :explode:
(Adrenergic Drugs) หรือ Sympathomimetic
อธิบาย
Adrenergic agent เป็นสารที่ทำให้ เกิดการกรัตุ้นของระบบประสาท Sympathetic หริอ เรียกว่า Sympathomimetic หรือ กระตุ้น Adrenergic receptor α , β receptor
กลไกการออกฤทธิ์ มี 3 แบบ
Directly acting drugs ออกฤทธิ์ ที่ Adrenergic receptors ที่เซลล์เมมเบรนของ Sympathetic effector cell โดยตรง
Indirectly acting drugs ไปกระตุ้นให้หลั่งสาร Sympathetic เพิ่มขึ้น
Mixed - acting drugs
3.1. กลุ่ม Catecholamines ได้แก่ Epinephrine , Norepinephrine (NE) , Dopamine (DA) และ Dobutamine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1.ระบบไหลเวียนโลหิต กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบให้หดตัว ผ่าน α 1 receptor ได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนัง อวัยวะภายใน ไต และ เยื่อเมือก
2.ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ การกระตุ้นผ่าน β2- receptor ทำให้หลอดเลือดและกล้ามเนื้อลายขยาย ทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม ทางเดินอาหารและกล้ามเนื้อมดลูก
β1- receptor เกี่ยวกับการกระตุ้นหัวใจ
4.ผลต่อ Metabolism ผลต่อตับ เพิ่มการสลาย Glycogen และ สร้างGlucose จาก Lipid และ Protein ผ่าน α 1, β2- receptor เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด เพิ่มการสลายผ่านเยื่อไขมัน ผ่าน β2-β3- receptor เพิ่ม Free fatty acid
5.ผลต่อระบบไร้ท่อ Endocrine effect ตับอ่อนลดการหลั่ง Insulin ผ่าน α 2 receptor เพิ่มการหลั่ง Glucagon ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
6.ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ตื่นตัวและลดความอยากอาหาร
7.ผลต่อตา การกระตุ้น α receptor ที่ radial muscle ของม่านตา ทำให้กล้ามเนื้อหดตัว มีผลให้รูม่านตาขยาย ผลต่อ β receptor ทำให้เพิ่มการสร้างน้ำลูกตา
3.1.1 Epinephrine (Adrenaline)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือด มีฤทธิ์กับกล้ามเนื้อหัวใจโดยตรง ฤทธิ์แรงในการบีบหลอดเลือด และ กระตุ้นหัวใจ เพิ่มทั้งอัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจ มีผลต่อความดันโลหิต
ระบบหายใจ ทำให้กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัว หลอดลมขยายตัว
ต่อระบบเมตาบอลิซึม ภายในร่างกายทำให้กลูโคสและแลคโทส ในเลือดสูง
ระบบทางเดินอาหาร กล้ามเนท่อทางเดินอหารตลายตัว กล้ามเนื้อหูรูดบีบตัว
ยาเข้าสู่สมองได้น้อย จึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์ กระตุ้น α1,2 และ β1,2 receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็ว โดย MAO และ COMT ให้โดยการทานไม่ได้
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะหัวใจหยุดเต้น cadiac arreat เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น Heart block , Ventticular fibrillation / Epinephrine เป็นยาแรกที่ควรใช้ จะเพิ่มอัตราชีพจรทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการออกซิเจนมากขึ้น
Anaphylaxis เป็นปฏิกิริยา แพ้รุนแรงอย่างเฉียบพลัน ที่เกิดจากการแพ้ยา แพ้สารต่างๆ ยาลดอาการหดเกร็งของหลอดลม Bronchospasm ทำให้หลอดลมขยาย และ ลดการบวมของกล่องเสียง
ใช้เพื่อห้ามเลือด Topical Hemostasis ประคบเฉพาะบริเวณเยื่อเมือก ลดอาการเลือดออก
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่ ใช้ใน Spianal Block เพื่อช่วยออกฤทธิ์ นานขึ้น ลดการแพร่กระจายของยาชาออกไป
3.1.2 Norepinephrine (NE) / Noradrenaline (Levophed (R))
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ Epinephrine กระตุ้น α1 β1 receptor แต่มีความชอบต่อ α receptor สูงกว่า
ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มอันตราการเต้นของหัวใจ และเพิ่ม cardiac output ผลจากหลอดเลือดหอตัว ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
ประโยชน์ทางคลินิก
ใช้รักษาความดันโลหิตต่ำรุนแรง ที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่น
3.1.3 Dopamine (DA) (Dopaminex , Dopmin , Intropin)
ผลของยาตามขนาดยา
เมื่อใช้ยาขนาดต่างกัน
DA ในขนาดปานกลาง กระตุ้น β1 receptor เพิ่มแรงบีบของหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจไม่ต้องใช้ออกซิเจนมาก มีประโยชน์ในภาวะหัวใจล้มเหลว และ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
DA ในขนาดสูง กระตุ้น α1 receptor ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มความดันโลหิต
ประโยชน์ทางคลินิก รักษาภาวะช็อกจากหัวใจจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
DA ในขนาดต่ำ Renal dose กระตุ้น D-1 - receptors ทำให้เกิด Vasodilation ของหลอดเลือดในไต
ขยายตัวมาก ผู้ป่วยที่ฉี่น้อยจะได้ฉี่มาก
3.1.4 Dobutamine
อธิบาย
ไม่มีผลต่อไต (การเพิ่มจำนวนปัสสาวะ)
เกี่ยวกับหัวใจ และ หลอดเลือด
อาการค้างเคียงและการเป็นพิษ
ระบบประสาท วิตกกังวล ปวดหัว อาการสั่น อาจเกิด Cerebral hemorrhage
Tissue necrosis ยารั่วไปตามหลอดเลือด เกิด Vasoconstriction
ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดปวมน้ำ เจ็บหน้าอก ความเสี่ยงจะเพิ่มมากขึ้นในผู้ป่วย Hyperthyoidism
3.2. Alpha-adrenergic agonist (α-agonist)
3.2.1 Alpha-1 agonist
ยามีฤทธิ์เป็น α1 - agonist มีฤทธิ์เฉพาะเจาะจงที่ α2-adrenergic receptor
Phenylehrine ยาลดน้ำมูก ยาขยายม่านตา
Midodrine ยากิน ทำให้หลอดเลือดหดตัว
3.2.2 Alpha-2 agonist
ห้ามซื้อกินเอง ถ้าหยุดจะเกิด Rebound conjestion (บวม)
Clonidine
ใช้ถอนพิษสุราเรื้อรัง รักษาสตรีตั้งครรภ์ ร้อนวูบวาบสตรีหมดประจำเดือน
3.4. Indirect - acting and Mised-type adrenergic agonist
3.4.1 Ephedrine anf Pseudoeohedrine
กระตุ้นที่ Receptor ทางตรงและอ้อม โดยหลั่ง NE
ฤทธิ์รุนแรง ไม่ใช้แล้ว
ใช้เป็นยาลดน้ำมูก มีผลข้างเคียงสำหรับผู้ป่วยหัวใจ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ หัวใจเต้นเร็ว
3.4.2 Amphetamine
ไม่ใช้ทาง Clinic
เป็นยาเสบติด ออกฤทธิ์ที่หัวใจ หัวเต้นผิดจังหวะ
กระตุ้นประสาททำให้กระสับกระส่าย
3.3. Beta-adrenergic agonist
3.3.1 β2 adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น (Sort-Acting Beta Aginists : SABAs)
ยาที่ใช้เฉพาะที่รักษาโรคเรื้อรัง
ได้แก่ยา Ventolin(R) และ Terbutaline ยาจำเพาะต่อ β2-receptor ทำให้กล้ามเนื้อหลอดลมคลายตัว ใช้รักษาอาหารหลอดลมเกร็งเฉียบพลันและ เพื่อขยายหลอดลม Salbutamol ออกฤทธิ์ได้เร็วภายใน 15 นาที
1.Terbutaline ใช้เวลา 1 ชั่วโมงเมื่อใช้แบบยาพ่น ใช้ บรรเทาอาหารจับหืดเฉียบพลัน หรือ COPD ระยะเวลาออกฤทธิ์ 3-4 ชั่วโมง มันใช้เสริมเมื่อมีอาการเฉียบพลัน
2.Terbutaline ชนิดรับประทาน ยับยั้งมดลูกบีบตัวใช้ในการชะลอหรือป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว (Long - actingbeta Aginists : LABAs )
ได้แก่ Salmeterol and formoterol เป็นยาที่มีระยะเวลาออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมง ควบคุมอาการหอบหืด
อาการค้างเคียงและความเป็นพิษ
บางส่วน จับกับ B1 ที่หัวใจอาจเกิดใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
3.3.2 β3 adrenergic agonist
ออกฤทธิ์ที่กระเพาะปัสสาวะ
รักษากลั้นฉี่ไม่ได้ Overactive Bladder
ประโยชน์ทางคลินิกของยาในกลุ่ม Sumpathomimestics
ภาวะหัวใจหยุดเต้น ใช้ Epinephrine
ภาวะช็อค ยาที่กระตุ้น beta ทำให้กระตุ้นการบีบตัว และ อัตราการเต้นของหัวใจ ยาที่กระตุ้น Alpha มีผลต่อความดันโลหิต Dopamine มีผลเพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไต
Anaphylaxis ยาหลักที่ใช้ได้แก่ Epineprhine
Ashma and COPD ใช้เป็นยาขยายหลอดลม ยาในกลุ่ม Beta2-adrenergic receptor เป็นยาหลักในการรักษาหอบหืด
ลดการบวมคั่งของเยื้อเยื่อในจมูก
อื่นๆ
Antihypertensive ยากลุ่ม alpha 2 agonist เช่น Clonidine ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาท
Glaicoma ยากลุ่ม alpha 2 agonist ช่วยลดความดันในลูกตา
ยาที่ออกฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้น
Parasympathetic Nervous System :disappointed:
ยาโคลิเนอร์จิก (Cholinergic Drugs)
อธิบาย
ออกฤทธิ์กระตุ้นโดยตรง
โดยอ้อมยับยั้งการทำงานของ AChe หรือ Che
1.1 Chilinergic agonist
สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์โดยตรง
Acetylcholine (Ach) และ สารสังเคราะห์ Choline ester
Acetylcholine (Ach)
ออกฤทธิ์กระจายมาก
ออกฤทธิ์สั้นเนื่องจากยาถูกทำลายอย่างรวดเร็ว
AChe เกิดจากการสังเคราะห์ Choline ester
เช่น
Carbachol
Bethanechol
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้น Muscarinic and Nicotinic receptor
อาการค้างเคียงและการเป็นพิษ
กระตุ้น Muscarinic receptor
โดยเฉพาะยาที่ออกฤทธิ์ทั่งร่างกาย Systemic
เช่น
ฺBethanechol , Pilocarpine
ชนิดเม็ด ได้แก่ อาการเวียนศีรษะ Dizziness คล้ายจะเป็นลม อาเจียน ทำให้มีน้ำลาย น้่ำมูก น้ำตาไหล เหงื่ออก ปวดปัสสาวะ ปวดมวนท้อง
Pilocarpine แบบหยอด จะมีอาการตามัว ระคายเคือง คันตา น้ำตาไหล
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้น Sympathetis nervous system
ระบบหายใจ
ทำให้มีการหลั่งน้ำลาย
สารเนื่อเมือก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะหดตัวมากขึ้น เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ เพิ่มการบีบ และ การคลายตัวของหูรูด และ กระเพาะปัสสาวะ
1.ระบบไหลเวียนเลือด
สาร Muscarinic agonist มีผลลดความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย Peripheral vascular risistance
หลอดเลือดขยายตัว Vasodilation ความดันลดลง ลดการเต้นของหัวใจ
ฤทธิ์ต่อตา
ทำให้ม่านตาหรี่ Miosis
หดตัวของกล้ามเนื้อ Sphincter muscle ของ Iris ลดความดันตา
ระบบประสาทส่วนกลาง
สารมีฤทธิ์กระตุ้นสมองง Cortex
มีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้ Cognitive function
การเคลื่อนไหว motor control
ความอยากอาหาร Appetite
ความปวด
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มการหลั่่งสารคัดหลั่ง คือ น้ำลาย และ กรดในกระเพาะอาหาร ต่อมในตับอ่อน และ สำไส้เล็ก
กระตุ้น Peritalsis
ข้อห้ามใช้ :no_entry:
ผู้เป็นโรคหืด Ashma หรือ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD เนื่องจากจะทำให้หลอดลมหดตัว
โรคแผลในกระเพาะอาหาร และ ลำไส้ Peptic Ulcer เนื่องจากยากระตุ้นการหลั่งกรด และ น้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้ อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากกระตุ้นการบีบตัวกจะก่ออันตราย
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechol
ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะคั่งจากการผ่าตัดคลอดบุตร
กระเพาะปัสสาวะไม่ทำงาน
รักษาต้อหิน Glaucoma
ยา Pilocarpine
รักษาต้อหินเฉียบพลัน
ฤทธิ์ยาโดยการกระตุ้นม่ายตาให้ม่านตาหรี่
เตรียมผู้ป่วนลดความดันลูกตาในการผ่าตัด
ลดความดันในลูกตา
ใช้รักษาอาการท้องอืด ไม่ถ่าย
กรดไหลย้อน Gastroesophagral reflux
ยา Bethanechol
กระตุ้นการบีบตัว เพิ่มแรงบีบ
การเคลื่อนของอาหาร
1.2 Anticholinergic agent(Cholinestetase inhibitors )
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงาน ของ AChE หรือ ChE
ซึ่งเป็น enzyme ที่ทำลาย Ach ผลทำให้ Ach ไม่ถูกทำลาย
Ach จึงไปกระตุ้น Cholinergic receptors
Ach มีผลต่อกล้ามเนื้อ ถ้าขาดกล้ามเนื้อจจะอ่อนแรง
แบ่งออก 2 กลุ่ม
Reversible
มีฤทธิ์สั้น เป้นประโยชน์ทางการแพทย์
ex edrophonium , neostigmine and pyridostigmine
Irreversible
ได้แก้ Organophosphat compounds
ใช้เป็นยาฆ่าแมลง เช่น Parathion มีพิษต่อร่างกาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษา Alzheiner's desease ข่วยปรับปรุงด้านความจำ
ฤทธิ์ต่อการคลายกล้ามเนื้อของกลุ่มที่เป็น Competitive antagonist ให้ผู้ป่วยกลับมาหายใจได้ปกติ หลังจากผ่าตัด
รักษา MS : Mysthenia gravis
โดยร่างกายจะทำปฏิกิริยากับ Nicotinic receptor
ผู้ป่วยจะมีอาการแขนขาอ่อนแรง หนังตาตก พูดไม่ชัด
ยาจะช่วยเพิ่ม Ach ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงนั้น กลับมามีแรง
รักษาอาการลำไส้
อาการค้างเคียงและการเป็นพิษ
ยาฆ่าแมลง Organophosphate เป็นยาที่จับกับ enzyme อย่างถาวร Irroversible
Organophosphate สมองได้ดี ทำให้ชัก หยุดหายใจ และ หมดความรุ็สึด
เมื่อได้รัยจะเกิดอาการพิศ เช่น รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า หลอดลมหดเกร็ง ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เหงื่อออกมาก น้ำลายมาก มีสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมาก ปวดท้อง
รักษาโดย ยาต้านพิษ Atropine and Pralidoxime 2-PAM เพื่อยับยั้ง Muscarinic effect
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ Muscarinic receptors คล้ายกับ Cholinergic agonist
รุนแรงเพราะยานี้มีผลทั่วร่างกาย Systemic effect
ระบบไหลเวียนอาจทำให้หัวใจเต้นช้า ลด cardiac output ความดันโลหิตลดลง
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ และ ต่อมของกระเพาะอาหาร และ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ ตา
ผลต่อ Nicotinic receptor
การบีบตัวพริ้วของกล้ามเนื้อลาย
ยาต้านมัสคารินิค (AntiMuscarinic Drugs)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์แย่งที่ กับ Ach ในการจับ Muscarinic receptor แบบแข่งขัน
ทำให้ยามีผลลด Parasympathetic rone in body
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร
ลดการขับเคลื่อนของกระเพาะอาหารและลำไส้
ปิดกั้น Muscarinic receptors ทำให้ parasympathetic tone in body ลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
ขยายหลอดลม
ยับยั้งการหลั่งสารเมือก
ลดการหดเกร็งของหลอดลม
ระบบตา
ม่ายตาขยาย ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองภาพชัดได้
ต่อมเหงื่อ Atropine
ทำให้ร่่างกายขับเหงื่อได้น้อยลง
ร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกทางเหงื่อได้
เกิดไข้ อุณภูมิสูง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Atropine ทำให้หลอดเลือดหัวใจขยายตัว โดยเฉพาะหลอดเลือดใต้ผิวหนัง
หัวใจเต้นเร็ว
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและแรวงในการบีบของกระเพาะปัสสาวะ
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย
Antisecretory รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ใช้เป็น Antispasmodics ยา Buscopan ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม นิยมใช้กับคนไข้ COPD
เตรียมคนไข้ผ่าตัด
ป้องกันกรเมารถ เมาเรือ เมาคลื่น ดดยฝช้ยา Scopolamine ในรูปแผ่นแปะ เนื่องจากมีฤืธิ์สั้น
รักษาภาวพล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต Atropine
ใช้เป็นยาต้านพิษ ที่เกิดจาก Organophosphate ยาที่ใช้ได้แก่ Atropine ลดการหลั่งของสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ
รักษาการบีบตัวมากเกินไป ของกระเพาะปัสสาวะ
รักษาคนไข้ พากินสัน
อาการค้างเคียงและการเป็นพิษ
เกิดจาก ฤทธิ์ Anticholinergic อาการรุนแรงมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาดยาที่ใช้
อาการที่พบ ได้แก่ ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว ใจสั่น ร้อนวูบวาบทางผิวหนัง ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก
ควรสังเกตและบันทุกปริมาณน้ำดื่มและจำนวนปัสสาวะ เพราะยาทำให้ปัสสาวะคั่ง
อธิบาย
ระบบประสาทอัติโนมัติ Autonomic nervouse system เป็นระบบประสาทที่อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ มีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิต
เช่น อัตราการเต้นและแรวบีบของกล้ามเนื้อหัวใน
เช่น การไหลเวียนเลือดไปส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เช่น การบีบและการหลั่งของทางเดินอาหาร และ ทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
อธิบาย เป็นการควบคุมอวันวะภายใน โดนการประสานการทำงาน ANS
ประกอบด้วย 2 ระบบ
Sympathetic nervous sysyem
ตื่นตัว ต่อสู้
Parasyspathetic nervous system
ชะลอ หรือ ห้ามระบบ
การแบ่งประเภทของ Adrenergic receptors
β 1 พบที่หัวใจ เมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัส อันตราการเต้นของหัวใจ
β 2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดินปัสสาวะ และ มดลูกเมื่อถูกกระตุ้นจะเกิดการคลายจัว และ กล้ามเนื้อลายก่อให้เกิดการสลายไกลโคเจน
α2 พบที่ปลายประสาท Sympathetic เนื้อเยื่อต่างๆ และ ในสมอง การกระตุ้นจะยับยั้งการหลั่งของ NE : Norepinephrine
β 3 พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
α1 พบที่กล้ามเนื้อเรียกของหลอดเลือด ทางเดินปัสสาวะ และ มดลูก ทำให้เกิดการตอบสนองแบบหดตัว ยกเว้น :no_entry:ระบบทางเดินอาหาร :forbidden: ทำให้ยับยั้งการเคลื่อนไหว
สารสื่อประสาท Neurotransmitter และ ตัวรับ Receptor ในระบบประสาท
สารสื่อประสาท Parasympathetic
เรียก Cholinergic agent
Ach : Acethylcholine
ตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor
M : Muscarinic
N : Nicotinic receptor
Somatic
มีเส้นประสาทที่ส่งไปยังกล้ามเนื้อ
หลั่ง Ach ออกฤทธิ์ที่ Nicotine receptor กล้ามเนื้อลาย
สารสื่อประสาทใน Sympathetic
เรียก Adrenegic agent
Noradrenaline (NE)
ตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Adrenegic receptor
Alpha
Beta
การแบ่งประเภทของ Cholinergig receptor
แบ่งออก 2 ชนิด
Nicotine receptor
พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
M3
พบได้ตามต่อท่อต่างๆ กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ การกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ Excitation เช่น การหลั่งของต่อมมีท่อมากขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหดตัว
M4
พบที่ระบบประสาท การกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่ง Dopamine
M2
พบที่หัวใจ และ บางส่วนของ peripheral neuron การกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ ยังยั้ง :forbidden: เช่น หัวใจเต้นช้า ยับยั้งการหลั่ง Ach ออกจากปลายประสาท Sympathetic
M5
พบที่ Dopamine neuron การกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่งของ Dopamine
M1
พบที่สมอง Peripheral neuron และ Gastric perietal เมื่อถูกกระตุ้นทำให้เกิดการ ตอบสนองแบบ Excitation
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
Parasympathetic Nervous System :disappointed:
ยาโคลิเนอร์จิค (Cholinergic drugs)
ยาต้านมัสคารินิค (AntiMuscarinic drugs)
Sympathetic Nervous System :stuck_out_tongue:
ยากระตุ้นระบบประสาทSympathetic (Adrenergic Drugs)
ยาปิดกั้น Adrenergic receptor (Adrenoceptor blocking drugs)
✨🧸นางสาวพลินี จำปา 19A ✨🧸
💕6201210378💕