Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion(ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secoundary febrile convulsion(มีความผิดปกติของสมอง)
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
1.กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับอาการชัก เช่น diazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
2.ให้ยาลดไข้ ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้ (เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก
1.ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital , Depakine
โรคลมชัก(Epilepsy)
Partial seizure
ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
2.พันธุกรรม
3.Developmental and degenerative disorders
4.โรคติดเชื้อของสมอง
5.รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
6.Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซํ้า
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้ เช่น ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
รักษาด้วยอาหารKetogenicdiet คือการจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตตํ่า โปรตีนตํ่า
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครอง
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปี ห้ามหยุดยาเอง แนะนำวิธีการป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการและปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
Meningitisเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย(Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส(Viral หรือAsepitc meningitis)
พยาธิ(Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา(Fungal memingitis)
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ เช่น มีไข้
ปวดศีรษะมาก ซึมลงกระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง(Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาตามอาการ
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน
สมองอักเสบEncephalitis
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอคอแข็ง(Stiffness of neck)
ซึมลงจนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน24 –72ชั่วโมง
ชักมีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่ายอารมณ์ผันแปรเพ้อคลั่งอาละวาด
การหายใจไม่สมํ่าเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน, เจาะคอหรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอนหลับ ให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ
รักษาสมดุลของปริมาณนํ้าเข้า –ออกของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึ้น มีอาการอาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด หรือนํ้าไขสันหลัง ซึ่งพบได้ยาก การวินิจฉัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันคือตรวจหา IgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอี ในนํ้าไขสันหลังและในเลือด
การรักษา
ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit ให้ยาลดไข้ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะบ่อยๆ ถ้ามีเสมหะมากอาจต้องทำ tracheostomy บางครั้งจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบคํ่า
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 ปีครึ่ง
ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 2-4 wkแล้วฉีดครั้งที่ 3 หลังจากฉีด
เข็มที่ 2 ได้ 1 ปี ควรจะเริ่มให้วัคซีนนี้พร้อมกับการให้ booster dose DTP และOPV
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง
ทำทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตรงตามแผนการรักษาในรายที่หายใจขัดเขียว
ขณะชักให้งดอาหารนํ้าทางปากตามแผนการรักษา
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงในรายที่มีอาการชักเกร็ง
ถ้าผู้ป่วยมีไข้สูงให้เช็ดตัวด้วยนํ้าธรรมดาหรือนํ้าอุ่นเพื่อให้ไข้ลดถ้าไข้ไม่ลดรายงานแพทย์ทราบเพื่อให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยากันชัก
ดูแลให้ได้รับยาระงับอาการชักตรงตามแผนการรักษาในรายที่มีอาการชักนาน
Hydrocephalus
สาเหตุ
Overproduction of CSF
Obstruction of the flow of CSF
Defective absorption of CSF
การวินิจฉัย
Transillumination test
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินนํ้าไขสันหลัง (Shunt)
การให้ยาลดการสร้างนํ้าไขสันหลัง (Diamox)
-Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
1อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของนํ้าไขสันหลัง
2อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
3อาจเกิดภาวะขาดสารนํ้าและอาหารเนื่องจากการสำรอกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
หลังผ่าตัด
1.การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
2.การระบายนํ้าไขสันหลังเร็วเกินไป(เน้นนอนราบหลังผ่าตัด ใน 24ชม.แรก
โรคสมองพิการ(Cerebral Palsy)
สาเหตุ
1.ระยะก่อนคลอด
2.ระยะคลอด
3.ระยะหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ลักษณะอ่อนปวกเปียก อาจหายใจช้า พัฒนาการช้า เช่น การดูด การกลืน การเคี้ยว ทำให้สำลักนม
อาหารได้ง่าย รีเฟล็กซ์ผิดปกติ เป็นค้น การเคลื่อนไหวกับสมดุลของร่างกายมีความผิดปกติถ้าสมอง
ส่วนที่เสียนั้นควบคุมการทรงตัว ภาวะปัญญาอ่อนตั้งแต่ขนาดน้อยถึงมาก พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึก
ทักษะการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายตามความสามารถและศักยภาพอย่างเหมาะสม
การพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
2.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
3.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
4.บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Guillain Barre‘s Syndrome
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ โดยมีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อ Myelin sheath ของเส้นประสาทไขสันหลัง
ส่วนที่เป็น spinal nerve roots ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถติดต่อสั่งงานมายังกล้ามเนื้อได้ตามปกติ
อาการและอาการแสดง
1.Sensationเริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวดโดยเฉพาะปลายแขนปลายขา ไหล่ สะโพก และโคนขา
2.motorกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Flaccid motorparalysis)ทั้งสองข้างสมดุลกัน
3.อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้า ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facaial nerve)
4.อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ ส่วน medulla oblongata ที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญ
การรักษา
1.การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา (Plasma ExchangeหรือPlasmapheresis)
2.การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG) เป็นการรักษาที่สะดวกและง่ายกว่า
วินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว จากกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตนเอง
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ทุกข์ทรมานจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
ขาดการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆจากไม่สามารถพูดได้
ผู้ป่วยและญาติกลัว วิตกกังวล ท้อแท้ กับอาการของโรคที่เป็นจากการขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวตลอดจนการฟื้นฟูสภาพ
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital sign โดยเฉพาะRRต้องมีการตรวจวัด vital capacity ,tidal volume หรือ minute volume
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวการณ์หายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส สภาวะของmotor sensory และcranial nerve ช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพ Observe อาการแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร เนื่องจากผู้ป่วยจะมีนํ้าหนักลดลงอย่างรวดเร็ว ต้องการพลังงานในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทำให้ได้รับอาหารไม่เพียงพอ
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย
กลุ่มอาการดาวน์(Down ’s syndrome)
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ตํ่า
brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมีsimian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loop loopมากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
ทางเดินอาหารอุดตัน ที่พบบ่อยคือ duodenum stenosis
Hypothyroidism
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
Polycythemia
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ตาเข สายตาสั้น
ความผิดปกติเกี่ยวกับหู เช่น ช่องรูหูเล็ก มีปัญหาการได้ยิน
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ พัฒนาการทางเพศช้า
การติดเชื้อ โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจเกิดง่ายกว่าเด็กทั่วไป
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย คือ โรคหัวใจ ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ภาวะฮัยโปไทรอยด์และอื่นๆ
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Spinabifida
ชนิด
Spina bifida occulta
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotienในนํ้าครํ่าสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงนํ้าแตก
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคั่งของนํ้าปัสสาวะ
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
หลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด