Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
Birth asphyxia
แบ่งตามหลักทั่วไป
Moderate birth asphyxia (Apgar 4-5 คะแนน)
Severe birth asphyxia (Apgar 0-3 คะแนน)
Mild birth asphyxia (Apgar 6-7 คะแนน)
ปัจจัยเสี่ยงระหว่างคลอด
มารดาได้รับยาดมสลบแบบ GA
มารดาได้รับการรักษาด้วยยา แมกนีเซียมก่อนคลอด
ภาวะเลือดออกมากผิดปกติระหว่างคลอด
ท่าผิดปกติหรือคลอดติดไหล่
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
รกลอกตัวผิดปกติ
การให้การช่วยเหลือทารก Apgar 0-3 คะแนน
ใส้ ET-tube
HR น้อยกว่า 60 ให้ Chest compression
ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
หลังกดหน้าอก 45-60 s if HR น้อยกว่า 60 ให้ยา Epinephrine/Adrenarine
ดูดเสมหะ
ให้สารน้ำ เช่น 0.9% NaCl หรือ Ringer's
เช็ดตัวให้แห้ง
ผลของการขาดออกซิเจน
หายใจ :warning:หายจช้า, หยุดหายใจ
หัวใจและหลอดเลือด :warning: Stroke Volume
ทางเดินปัสสาวะ :warning:ปัสสาวะน้อยลง, ปัสสาวะเป็นเลือด
สมองและประสาท :warning:HIE, เลือดออกในสมอง
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
ขั้นทุติยภูมิ :<3: ทารกหายใจเป็นเฮือกและหยุดการหายใจได้โดยการเอาไปกู้ชีพ
ขั้นปฐมภูมิ :<3:ทารกหายใจเร็วและหยุดหายใจ ทารกสามารถกลับมาหายใจได้ใหม่ดดยการกระตุ้น เช่น ถูกหลัง/ดีดฝ่าเท้า
การบาดเจ็บจากการคลอดยาก :star:Birth injury
Caput succedaneum
:red_flag:ก้อนโนบนกะโหลกศีรษะในชั้นของหนังศีรษะขอบเขตไม่ชัดเจน,อาจข้ามรอยประสานของกระดูกกะโหลกศีรษะได้
สาเหตุ
เกิดจากหลอดเลือดบรริเวณศีรษะถูกกด
ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
เกิดการบวมน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังของกะโหลกศีรษะ
เกิดจากศีรษะของทารกบีบขณะคลอด
อาการแสดง
พบได้ทันทีแรกคลอดโดยคลำพบก้อนบวมได้บริเวณ ocipito parietal region
รอยบวมข้ามรอยต่อของกะโหลกศีรษะ suture line
ขอบเขตไม่ชัดเจน
ก้อนจะค่อยๆเล็กลงและหายไปใน 36 ชม./2-3 วัน
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
:<3:การพยาบาล
สังเกตลักษณะขนาดการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของ caput
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
ไม่ต้องการรักษาก้อนจะหายไปเอง 2-3 วันหรือจนถึง 3-4 สัปดาห์แล้วแต่ขนาดของก้อน
ถ้ามีรอยแดงช้ำมากอาจต้องส่องไฟเพื่อรักาาภาวะตัวเหลืองให้ทารก
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
Cephal hematoma
:red_flag:ก้อนโนบนกะโหลกสีรษะใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ,ก้อนเลือดที่ศีรษะ,ก้อนเลือดที่ศีรษะ,เป็นเลือดที่สะสมอยู่ใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
จากการใช้เครื่องช่วยทำคลอด เช่น การช่วยคลอดด้วยคีมและมักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง
ในเด็กแรกเกิดที่บาดเจ็บจากหัวเด็กผ่านทางคลอด
อาการแสดง
พบก้อนนูนหลัง 24 ชม.ไปแล้วก้อนจะค่อยๆมีขนาดใหญ่ขึ้นและคงอยู่หลายสัปดาห์(เฉลี่ย 3-6 สัปดาห์)
คลำพบก้อนนูนอยู่บนกะโหลกศีรษะแต่ละชิ้นไม่ข้ามรอยต่อของกระดูก
ลักษณะก้อนค่อนข้างตึงมีขอบเขตชัดเจนเมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยปูมหลังปล่อยนิ้วจะโป่งตึงเช่นเดิม
ทารกอาจซีดเพราะเสียเลือดมาก
:<3:การพยาบาล
ให้ทารกนอนตะแคงตรงข้ามกับก้อนโนเพื่อป้องกันการกดทับที่กระตุ้นให้เลือดออกมากขึ้น
สังเกตอาการซีดติดตามค่า Hct. และดูแลให้เลือดตามแผนการรักษา
สังเกตลักษณะขนาดแลการเปลี่ยนแปลงอื่่นๆ
ติดตามค่า microbilirubin ถ้ามีภาวะตัวเหลือง on phototherapy ตามแผนการรักษา
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นและไม่ให้ใช้ยาทายานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออก
Subgaleal hemorrhage
:red_flag:ก้อนเลือดที่ศีรษะเป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกศีรษะกับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
อาการแสดง
มีลักษณะนุ่ม
การบวมปรากฎหลังเกิดหลายชั่วโมง
รอยบวมรอยต่อส่วนกลางศีรษะ
เลือดอาจเซาะทั่วศีรษะถึงหน้าผากขมับด้านข้างและท้ายทอย
การพยาบาล
หากเลือดออกมากอาจทำให้เกิดภาวะช็อคหรือซีดก้อนเลือดข้างใต้ติดเชื้อให้ยาปฏิชีวนะ
มีการติดเชื้อให้ระบายออก
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
Molding
:red_flag:การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ :<3:เกิดจากทารกมีการปรับขนาดขอศีรษะเพื่อให้สามรถผ่านช่องคลอดของมารดาได้
อาการ :<3:ทารกที่เกิดท่าศีรษะเป็นส่วนนำทำให้ศีรษะมีรูปร่างยาว
การพยาบาล :<3:ไม่ต้องการรักษาพยาบาลจะหายเองภายใน 2-7 วันหลังคลอด
จำเลือดใต้ผิวหนัง :star:Ecchymosis
สาเหตุ
จากการคลอดโดย Vacuum
Forceps extraction
อาการแสดง
หากคลอดทงช่องคลอดเรียกว่า Hemorrhagic caput succedaneum
อาจพบร่วมกับต่มพองหรือแผลถลอก
จ้ำเลือดใต้ผิวหนังที่หนังศีรษะ
Maconium aspiration syndrome
:red_flag:ภาวะสำลักขี้เทาเข้าไปในปอดของทารกแรกเกิด
การวินิจฉัย
ตรวจพบขี้เทาอยู่ในหลอดลมคอโดยการทำtracheal suction
ทางเดินหายใจของทารกภาพรังสีทรวงอกพบลักษณะของการอักเสบจากการสูดสำลักขี้เทา
อาการหายใจลำบากที่ไม่ใช่เกิดจากปอดอื่นหน้าอดโป่งมากกว่าปกติ
อาการแสดง
ปลายมือปลายเท้าเขียว
Apnea ได้
ทารกหายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้ง/นาที
Abnormal breath sound
หน้าอกโป่งผิดปกติ
อาจพบ pneumothorax
การพยาบาล
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
clear airway
สังเกตสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
Hygine care