Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ceasarean Section due to CPD - Coggle Diagram
Ceasarean Section
due to
CPD
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงไทย G1P0010 GA 38+5 Weeks by Date
น้ำหนัก : 60 kg ส่วนสูง : 155 cm.
อาการสำคัญ : เจ็บครรภ์ 2 ชม ก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วย 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลเจ็บครรภ์ ท้องแข็งทุกสามนาที นานสี่สิบห้าถึงหกสิบวินาที ไม่มีมูกเลือด ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีปวดหัว ลูกดิ้นดีมากกว่าสิบครั้งต่อวัน
ประวัติการแพ้ยา/อาหาร : ไม่มี
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ไม่มี
การตรวจร่างกาย : Conjunctiva ไม่ซีด คอไม่บวม ไม่มีฟันผุ เต้านมลานนมปกติ ไม่บวม
การตรวจครรภ์ : ระดับยอดมดลูก 4/4 เหนือระดับสะดือ, Vertex Presentation, HE, OR
Vital Signs รับใหม่
T 36.8 C
P 100 [ครั้ง/นาที]
R 20 ครั้ง/นาที
BP 129/79 mmHg
Pain score 4 คะแนน
O2 Sat. 98%
โรคประจำตัว : ไม่มี
น้ำหนักและ BMI ก่อนการตั้งครรภ์ : 45 kg, 19.73 kg/m^2
OR
สาเหตุที่ทำให้ผ่าตัดคลอดในมารดารายนี้
CPD
Cephalopelvic disproportion (CPD) หมายถึงมีความแตกต่างของขนาดศีรษะทารก และอุ้งเชิงกราน ซึ่งทำให้ทารกไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ หรืออาจเกิดจากการที่ทารก มีการบิด หรือเงยทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะใหญ่เกินกว่าจะผ่านช่องเชิงกรานลงมาได้
การวินิจฉัย CPD หรือ failure to progress
ปากมดลูกเปิดอย่างน้อย 4 เซนติเมตรขึ้นไป และบางตัวอย่างน้อยร้อยละ 80 ขึ้นไป
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอและแรงพออย่างน้อย 2 ชั่วโมง
การดำเนินการคลอดผิดปกติ คือมี protraction disorders หรือ arrest disorders
การวินิจฉัย CPD หรือ lack of progession จะต้องมีครบทั้งสามข้อดังกล่าว ถ้าไม่เข้าเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น เช่น ทารกตัวโตมาก ประมาณน้ำหนักไม่น้อยกกว่า 4500 กรัม ควรได้รับความเห็นชอบจากสูติแพทย์อย่างน้อย 2 ท่าน ลงความเห็นและให้เหตุผลกำกับไว้
มารดาหลังคลอดทําผ่าตัด Low transverse cesarean section
ได้รับการระงับความรู้สึกแบบ Spinal block with morphine
Ceasarean Section
การผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อนำตัวเด็กทารกในครรภ์ออกมาทางแผลผ่าตัดด้านหน้ามดลูก
Indication
เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
Failed induction
Cephalopelvic disproportion (CPD)
Failure to progress in labor
Proven fetal distress
Plavental abruption
Placental previa
Umbilical cord prolapsed
Obstructive benign and malignant tumor
Active genital herpes infection
Abdominal cerclage
Conjoined twins
controversies
Breech presentation
Repeat cesarean section
Immune thrombocytopenia
Severe Rh immunization
Congenital fetal anomalies, major
Cervical carcinoma
Prior vaginal colporrhaphy
Large vulvar condyloma
Uterine Incision
Low transverse incision
ลงมีดในแนวขวางบริเวณ lower uterine segment โดยค่อยๆโค้งขึ้นบนเล็กน้อย นิยมทำมากที่สุด
Low vertical incision
ลงมีดในแนวดิ่ง (vertical) บริเวณ lower uterine segment ถ้าแผลไม่กว้างพอ อาจขยายแผลขึ้นไปทางด้าน upper uterine segment
Classic incision
ลงมีดในแนวดิ่ง บริเวณ upper uterine segment หรือ fundus ทำน้อยมากในปัจจุบัน
J incision
ใช้ขยายแผล low transverse incision โดยขยายขึ้นไปด้านข้าง เมื่อพบว่าแผล low transverse incision แคบไป โดยกรีดเพิ่มขนานขึ้นไปกับ ascending branch ของ uterine artery
T incision
ใช้ขยายแผล low transverse incision เช่นกัน เช่นกรณีลงมีดไป แล้วมีรกมาขวางด้านล่าง
การลงแผลที่หน้าท้อง
Lower midline incision
Pfannenstiel incision
Maylard incision
LR
PV ; 02.00 น. dil 3 cm eff 75 station -1 MI
03.00 น. dil 4 cm eff 80 station -1 MI
04.30 dil 8 eff 100 sation -1 MI
05.30 progress เท่าเดิม พบปากมดลูกบวม
ุ6.45 progress เท่าเดิม แพทย์ SET C/S due to CPD
7.00 ย้ายไป OR สูติ