Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม, นางสาวชุติมา สีหาบุญมาก เลขที่23…
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาระยะตั้งครรภ์
Vit.A
ในครีมทาผิวหญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ได้แต่สำหรับการรับประทานต้องระวังเนื่องจากยามีผลต่อการตั้งครรภ์โดยตรง
ข้อควรระวัง
ไม่ควรรับประทานปริมาณมากกว่า 25000 IU/วัน โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกเสี่ยงต่อการแท้งบุตร หรือทารกพิการได้
วิตามินเอมีผลต่อการสร้างอวัยวะ ระบบหัวใจ ระบบประสาท กระจกตา ช่วง 1-3 เดือนแรก
ไม่ทานยารักษาสิวที่มีกรดวิตามินเอป็นส่วนผสม
Warfarin
ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด ที่กเดิการอุดตัวที่หลอดเลือด
ความเสี่ยง
หากได้รับช่วงแรกของการตั้งครรภ์เริ่มมีการสร้างอวัยวะ พบความพิการร้อยละ 30
เสี่ยงแท้งเพิ่ม 14%
ยาผ่านทางรกสู่ทารก
ทารกตายในครรภ์
เลือดออก
ต้องได้รับการสั่งยาโดยแพทย์เท่านั้น
ข้อควรปฏิบัติ
มาพบแพบทย์ตามนัดเพื่อประยาตามค่า INR
หากมีเลือดออกผิดปกติ หยุดยาแล้วรีบมาพบแพทย์
หากไปพบทัตแพทย์หรือได้รับการรักษาที่อื่นต้องแจ้งว่ากำลังรับประทานยาอยู่
หากเกิดอุบัติเหตุเลือดไหลไม่หยุด ให้ใช้มือกดห้ามเลือดให้แน่นแล้วรีบไป รพ.
ยาและอาหารบางชนิดต้องระวังเพราะมีผลต่อยา
อาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพลแพทย์
เลือดออกทางตา
อาเจียนเป็นเลือด
เลือดออกทางปัสสาวะ
ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด ถ่ายดำ
มีแผลและเลือดออกมาก
ลิ้นแข็ง ปากเบี้ยวพูดไม่ชัด
จุดจ้ำเลือด
S/E
มึน งง ชา
เลือดออกตามไรฟัน
เลือดกำเดาไหล
หากลืมทานยา
ห้ามรับประทานเป็น 2 เท่า
ไม่เกิน 12 ชม. ทานได้ตามปริมาณเดิม
เกิน 12 ชม. ข้ามยามื้อนั้นไป เริ่มมื้อใหม้
การใช้ยาระยะคลอด
Oxytocin
หลักการใช้ยา
ต้องเจือจางในสารน้ำ Isotonic solution
ควรเริ่มให้สารน้ำ Isotonic ก่อน และให้สารน้ำที่มียาชาๆ อาจใช้ infusion pump
ปรับอัตราเพิ่มขึ้น 1-2 ml/min ตามการหดรัดตัว
ปรับอัตราการให้ยาลดลงหรือหยุดให้เมื่อมีการหดรัดตัวถี่ นาน แรงเกินไป
ติดตาม FHS และประเมินการหดรัดตัว ด้วย EFM หรือทุก 15 นาที ระยะที่ 1 และทุก 5 นาที ระยะที่2
pethidine
หลักการให้ยา
ประเมิน N/V และการกดการหายใจ
เฝ้าระวังกดการหายใจทารก ทุก3-5 ชม
ติดตาม V/S q 15 นาที 30 นาที 1 ชม
เป็นยากลุ่ม opioid บรรเทาเจ็บครรภ์ระยะคลอด
บริหารยา
ให้ในอัตรา 12.5-50 mg IV q 2-4 hr ยาเริ่มออกฤทธิ์หลังฉีด 5 นาที
อาจให้ร่วมกับ plasil ป้องกัน N/V
bricanyl
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง
คลอด
การพยาบาล
ติดตาม V/S q 1-4 hr ตามอาการ
เฝ้าระวัง S/E เช่น ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ BPต่ำ น้ำท่วใปอด กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
MgSo4
ยับยั้งการหดรัดตัวมดลูก
บริหารยา
loding dose MgSo4 4-6 g ในสารน้ำ 100 ml ให้ทางหลอดเลือดดำ 15-20 นาที หรือ 10% MgSo4 4 g เจือจางจาก 50% MgSo4 4 g
หลังจากนั้นให้ 50% MgSo4 1-2 g/hr โดยผสมในสารน้ำ isotonic IM ข้างละ 5 g q 6 hr จนครบ 24 hr
S/E ต่อมารดา
ร้อนวูบวาบ
ปวดหัว
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
N/V
ความดันโลหิตต่ำ
S/E ต่อทารก
กดการหายใจ APGAR score ต่ำตอนคลอด
การพยาบาล
ตรวจ deep tendon มากกว่า2+
RR ต้องมากกว่า 14 bpm
BP ต้องมากกว่า 90/60 mmHg
urine ต้องมากกว่า 100 cc/4 hr
MgSo4 อยู่ช่วง 4-7 mEq/L
เตรียม calcium gluconate 1 g IV ไว้แก้พิษ
dexamethasone
เป็นยา+การสร้างสาร surfactant เพิ่มปริมาณพื้นที่แลกเปลี่ยนแก๊สในถุงลมปอดทารกในสตรีที่เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ป้องกันภาวะ RDS
ขนาดที่ให้
6 mg IM q 12 hr จนครบ 4 ครั้ง
การพยาบาล
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต
ข้อห้ามให้ยา
ทารกตายในครรภ์
ทารกพิการรุนแรง
รกลอกตีวก่อนกำหนด
มารดามีโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงระหว่างให้ยา
ยังคงมีการดำเนินการคลอดต่อไป
นางสาวชุติมา สีหาบุญมาก เลขที่23 รหัสนักศึกษา602701023 ชั้นปีที่ 4