Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้อย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้อย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาระยะตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการย่อย การดูโซึมของยาที่ได้นับต่างไปจากตอนไม่ตั้งครรภ์ ยาบางชนิดที่สตรีได้รับเข้าสู่ร่างกายอาจมีผลต่อการทำงานที่ผิดปกติต่อทารกในครรภ์ได้ การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์จึงต้องระมัดระวัง
คำแนะนำทั่วไป
ยาเกือบทุกชนิดสามารถผ่านรกเข้าสู่ทารกในครรภ์ได้ในระดับที่ต่างกัน ดังนั้นพึงระมัดระวังว่าการใช้ยาทุกชนิดอาจส่งผลต่อทารก
การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ควรมีเหตุผลและข้อบ่งชี้ในการเลือกใช้อย่างชัดเจนว่าสมควรใช้ ควรเปรีบยเทียบข้อดีข้อเสียของการใช้และไม่ใช้ยาบางตัวด้วย
หญิงตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์อาจใช้ยาเมื่อมีความจำเป็นเท่านั้น
ความสำคัญที่จะยากรณ์ผลกระทบของยาต่อทารกในครรภ์
อายุครรภ์เมื่อเริ่มใช้ยา
ชนิดของยาที่ได้รับ
ปริมาณยาที่ได้รับ
ลักษณะพันธุกรรมของทารกที่มีแนวโน้มจะเกิดความผิดปกติจำเพาะกับยานั้นๆ
คำแนะนำการใช้ยาอย่างสมเหตุสงผล สำหรับ RDU hospital
เลือกใช้ยาสามัญก่อน
มีการใช้ยาอย่างเท่าเทียมตามสิทธิการรักษา
เลือกใช้ยาตามบัญชียาหลักแห่งชาติก่อน
การใช้ยา
ยาที่ควรหลีกเลี่ยง
Cyclophosphamide
Skeletal abnormalities, limb defects, cleft
palate
Methotrexate
Craniosynostosis, wide nasal bridge,micrognathia and limb
abnormalities
Tetracycline
Yellowish-brown, discoloration of deciduous teeth
Isotretinoin
Fetal face, heart and thymus
anomalies
Valproate
Neural tube defect
Radioactive-Iodine 131
Fetal thyroid cancer
ACE inhibitor and angiotensin-receptor blocker
Renal tubular dysgenesis, CNS
malformation
ยาที่ควรใช้อย่างระมัดระวัง
Indomethacin
น้ำคร่ำน้อย และการปิดของ ductus arteriosus ของทารกในครรภ์
Phenytoin
ลดการดูดซึม folate อาจเกิดวิกลรูปของทารกในครรภ์ เช่น microcephaly
Misoprostol
การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ ทารกขาดออกซเจน มดลูกแตกช่องทางคลอดฉีกขาด
Lithium
Fetal diabetes inspidus, fetal cardiac anomaly
Magesium sulfate
ระบบหายใจล้มเหลว
Corticosteroid
Increased risk for developing cleft lip and/or cleft palate
Oxytocin
การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนทำให้พิการหรือเสียชีวิต
มารดาเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด มนลูกแตก ช่องทางคลอดฉีกขาด
หากใช้ยามากอาจทำให้เกิด water intoxication หมดสติและเสียชีวิต
Antithyroid drug
Fetal hypothyroid or fetal thyroid
goite
Terbutaline
ภาวะหัวใจล้มเหลวในหญิงตั้งครรภ์
การใช้ยาในระยะคลอด
pethidine
ใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์ในระยะคลอด และอาจใช้ร่วมกับ plasil เพื่อป้องกันหรือบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
การพยาบาล
เฝ้าระวังการกดการหายใจในทารกซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ หลังฉีด 3-5 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพหลังฉีดยา 15 นาที 30 นาที 1 ชั่วโมง
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการกดการหายใจ
bricanyl
ยาที่ใช้ในการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
ติดตามสัญญาณชีพทุก 1-4 ซม. ตามสภาพอาการ
เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากยา เช่น ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันโลหิตต่ำ น้ำท่วมปอด กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Magnesium sulphase
เพื่อป้องกันการชักในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ severe-preeclampsia โดยออกฤทธิ์ลดการหลั่งสาร acetylcholine ที่ปลายประสาททำให้ยับยั้งการส่งกระแสประสาทไปยังกล้ามเนื่้อได้และออกฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้หลอดเลือดขยายตัว รู้สึกร้อน มีเหงื่อออก ลดความถี่และความแรงในการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ประเมินภาวะ hyperreflexia หรือ hyporeflexia จาก deep tendon reflex
ติดตามประเมินปริมาณน้ำเข้าน้ำออกจากร่่างกายโดยเฉพาะปัสสาวะ
ติดตามประเมินสัญญาณชีพทุก 30 นาที - 1 ชั่วโมง
ติดตามระดับความเข้มข้นของ MgSO4 ในเลือด
กรณีได้รับ MgSO4 เกินขนาดต้องให้ยา 10% calcium gluconat เพื่อต้านการออกฤทธิ์
dexamethasone
ใช้ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเพื่อกระตุ้นการสร้างสาร surfactant ในถุงลมปอดของทารกช่วยป้องกันภาวะ respiratory distress syndrome
oxytocin
วัตถุประสงค์
ใช้เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกในระยะคลอด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชักนำการคลอด หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการหดรัดตัวของมดลูก
เพื่อป้องกันหรือควบคุมการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ควรเริ่มให้สารน้ำที่ไม่มี oxytocin ก่อน และให้สารน้ำที่มี oxytocin ในอัตราที่ช้าๆก่อน
ปรับอัตราการการให้ยา oxytocin เพิ่มขึ้น ในอัตรา 1-2 milliunit/min ตามการตอบสนองของการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที - 1 ชั่วโมง
ปรับอัตราการให้ยาลดลง หรือหยุดการให้ยาเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกนาน ถี่ หรือแรงมากเกินไป
ต้องเจือจางยาในสารน้ำ isotonic solution
ติดตามประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ควรให้ควบคู่กับสารน้ำอีก 1 ขวด เพื่อสามารถหยุดให้ยาได้ทันที กรณีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และนาน