Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pill:การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม ในระยะคลอด - Coggle Diagram
:pill:
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม ในระยะคลอด
ยาเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก
Oxytocin
ใช้เพื่อเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูกในกรณีมดลูกมีการหดรัดตัวน้อยกว่าปกติในช่วงเจ็บครรภ์คลอด
ผลกระทบ
ในกรณีที่ให้ยาในขนาดสูงอาจก่อให้เกิดภาวะดังต่อไปนี้ ได้แก่ water intoxication หมดสติและเสียชีวิตได้
มารดาอาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด การฉีกขาดของช่องทางคลอด หรือมดลูกแตกได้
อาจทาให้การบีบรัดตัวของมดลูกผิดปกติ เกิดภาวะทารกในครรภ์ขาดอากาศจนทาให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
สิ่งที่ควรทำเพิ่อติดตาม
ควรให้ในรูปสารละลายเข้าหลอดเลือดดาผ่านระบบ infusion pump ในขนาดต่าก่อน เช่น 0.5 1.5 มิลลิ ยูนิตต่อนาที แล้วปรับยาตามการหดรัดตัวของมดลูกครั้งละ 4 6 มิลลิยูนิตต่อนาที ทุก 15 30 นาที ขนาดสูงสุดไม่ควรเกิน 48 มิลลิยูนิตต่อนาที
เฝ้าระวังการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิดตลอดระยะเวลาการคลอด
Methylergometrine (methergine)
ขนาดที่ใช้
แนะนำให้ใช้ยานี้เพื่อรักษาภาวะมดลูก
ไม่หดรัดตัวภายหลังจากได้รับ oxytocin
ขนาด 0.2 มก.ทางกล้ามเนื้อ
ให้ซ้ำได้ทุก 2-4 ชั่วโมง ขนาดสูงสุดไม่เกิน 0.8 มก.
ในกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องให้ทางหลอดเลือดดำ ต้อง ให้ช้าๆ ไม่เร็วกว่า 60 วินาทีและเฝ้าระวังระดับความดันเลือดอย่างใกล้ชิด
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตสูง
ปวดศีรษะ
สมองบวม (cerebraledema) และมีชักได้
หลอดลมหดเกร็งอย่างรุนแรง
คลื่นไส้และอาเจียน
ในผู้ป่วยที่ได้รับยายับยั้ง CYP3A4 เช่น ยากลุ่ม proteaseinhibitors ยากลุ่ม macrolidesเช่น erythromycin ยาในกลุ่ม quinolones และยาฆ่าเชื้อรากลุ่ม azole ควรเลี่ยง การใช้ยากลุ่ม ergot alkaloid เนื่องจากยาในกลุ่ม ergot alkaloid นี้มีเมตาบอลิซึมผ่านทาง CYP3A4 ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะหลอดเลือดหดตัวทั่วร่างกายอย่างรุนแรงได้
ช้อห้าม
ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหอบหืด
syntometrine
เป็นยาผสมระหว่างยา oxytocin 5 ยูนิต และยา
ergometrine ในขนาด 0.5 มก. ให้ทางการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
เนื่องจากเป็นยาสองชนิดผสมกัน มีระยะเวลาเริ่มออกฤทธิ์เร็ว กว่าการใช้ยา methylergonovine อย่างเดียว และการออก ฤทธิ์อยู่ได้นานกว่าการใช้ยา oxytocin อย่างเดียวคืออยู่ได้ หลายชั่วโมง
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้และอาเจียน
ยากลุ่ม Prostaglandins
ใช้ในกรณีที่การใช้ยา oxytocin ไม่ได้ผล
เนื่องจากภาวะreceptor desensitization
รักษาภาวะมดลูกไม่หดรัดตัว
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้และอาเจียน
หลอดลมหดเกร็ง ดังนั้นห้ามใช้ในผู้ที่เป็นหอบหืด
ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก
กลุ่ม Beta-sympatominetic
Terbutaline (Bricanyl)
เป็นยากลุ่ม Beta-adrenergic recepter agonists
จะออกฤทธิ์ไปจับตัวกับ Beta-2 adrenergic recepters เกิดกระบวนการทำให้การหดรัดตัวของมดลูกลดลง
การพยาบาลก่อนให้ยา
Terbutaline
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร และการหายใจ
ซักประวัติความเจ็บป่วยที่เป็นข้อห้ามในการให้ยา
เจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติ (CBC, BS, E’lyte)
เตรียมอุปกรณ์เช่น infusion pump, BP monitor
2011 FDA เตือนไม่ควรใช้ชนิดฉีดในสตรีตั้งครรภ์เพราะพบอาจเป็นเหตุตายจาก arrhythmias, pulmonary edema, and myocardial ischemia.
แนวทางการบริหารยา
Bricanyl 0.25 mg. sc. ทุก30 นาที
tiratedose จนไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
เปลี่ยนเป็นฉีดทุก 4 ชั่วโมง จนครบ 24 ชั่วโมง (6 doses)
5%D/W 500 ml+ Bricanyl 5 amp
เริ่ม drip 15 drops/min
เพิ่ม 15 drops/min ทุก20 นาที
Dose สูงสุด 60 drops/min
Drip คงที่ใน rate ที่มดลูกหยุดบีบรัดตัวนาน 2 ชั่วโมง
Bricanyl 0.25 mg. SC ทุก4 ชม.จนครบ 24 ชม
ข้อห้าม
1.สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ (structural heart disease, cardiac ischemia, dysrhythmia)
2.Hyperthyroidism
3.เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ดี
4.ความดันโลหิตสูง
5.Severe hypovolemia
6.ครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
อาการข้างเคียง
มารดา
มือสั่น ใจสั่น ปวดศีรษะ
ชีพจรเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตตํ่า
hyperglycemia,
hyperlacticemia, hypokalemia
pulmonary edema
ทารก
หัวใจเต้นเร็ว
น้ำตาลในเลือดสูงในครรภ์
น้ำตาลในเลือดตํ่าหลังคลอด
ความดันโลหิตตํ่าหลังคลอด
การเฝ้าระวัง
หยุดยาเมื่อ
Hypotension
HR≥ 120 bpm
Pulmonary edema
Fetal distress
Progressive cervical change
ยังมี contraction หลังจากให้ยาขนาดสูงสุด
หรือให้ยาเป็นเวลานานมากกว่า 24 ชั่วโมง
แนวทางการติดตามการใช้ยา
ตรวจและบันทึก PR, RR, BP ทุก30 นาที ลดขนาด
ยาหรืองดให้ยาถ้าพบอาการผิดปกติดังต่อไปนี้
RR >28 ครั้ง/นาที
BP < 90/60 mmHg
PR > 120 ครั้ง/นาที
สังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น ใจสั่น มือสั่น คลื่นไส้ อาเจียน และปวดศีรษะ ภาวะ pulmonary edema เมื่อเกิดภาวะนี้ให้ยุดยาทันที
กลุ่ม Tocolytic agents
magnesium sulphate
การออกฤทธิ์
นิยมให้ Magnesium sulfate ในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ
threatened preterm delivery
ที่มีอายุครรภ์อยู่ในช่วง 24 ถึง 28 สัปดาห์ (หรือ 23 ถึง 32 สัปดาห์)
หวังผลในการป้องกันภาวะ cerebral palsy (neuroprotective effect)
มีบทบาทในการเป็น calcium antagonist
ตัวอย่างขนาดและวิธีการให้ยา
10% MgSO4 40 ml (4 กรัม) IV slowly ในเวลา 15-30 นาที ตามด้วย
50% MgSO4 IV drip ในอัตรา 2 gm/hr ขนาดของยาสูงสุดไม่เกิน 3.5 gm/hr ปรับขนาดเพิ่มหรือลดตาม clinical response (therapeutic level 4-7 mEq/L)
ถ้า uterine contraction หยุดแล้วอาจให้เป็น Terbutaline (Bricanyl) ชนิดฉีด subcutaneous 0.25 mg (1/2 amp) ทุก 4 ชั่วโมง อีก 6 ครั้ง จนครบ 24 ชั่วโมง
ข้อห้าม
ผู้ป่วยโรค myasthenia gravis
ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตผิดปกติ
อาการข้างเคียง
ด้านมารดา
ปวดศีรษะ, กล้ามเนื้ออ่อนแรง (muscle weakness)
คลื่นไส้อาเจียน
ร้อนวูบวาบ (flushing)
ความดันโลหิตต่ำ
pulmonary edema
ด้านทารก
อาจกดการหายใจของทารก (respiratory depression)
APGAR scores ต่ำตอนคลอด
เซื่องซึมและอ่อนแรง (hypotonia)
ความดันโลหิตต่ำ
การเฝ้าระวัง
ตรวจ deep tendon reflex (ต้องไม่ absent)
Respiratory rate (> 14 ครั้ง/นาที)
Blood pressure (> 90/60 mmHg)
ควรมี 10% calcium gluconate ขนาด 1 กรัม
ไว้แก้พิษของยา
Urine output (> 30 cc/hr)
Magnesium level อยู่ในช่วง 4 – 7 mEq/L
Calcium-channel blockers
การออกฤทธิ์
จากการศึกษาเปรียบเทียบยาในกลุ่ม calcium-channel blockers โดยเฉพาะอย่างยิ่ง nifedipine กับยาในกลุ่ม beta-agonists พบว่า nifedipine ปลอดภัยกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
ออกฤทธิ์ยับยั้งแคลเซียมไม่ให้ผ่านเข้าสู่ cell membrane ส่งผลให้ระดับความเข้มข้นของแคลเซียมใน cytoplasm ลดลง ช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อมดลูก
ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงคือ การใช้ nifedipine ร่วมกับ magnesium sulfate ในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด เนื่องจาก nifedipine จะเสริมฤทธิ์ neuromuscular blocking effects ของ magnesium ทำให้รบกวนการทำงานของระบบหายใจและไหลเวียนเลือดมากขึ้น
การให้ Nifedipine ในสตรีตั้งครรภ์ที่ความดันโลหิตปกติ (normotensive) พบว่าทำให้ความดันโลหิตลดต่ำลงได้ร้อยละ 17 แต่ไม่แสดงอาการทางคลินิก
ตัวอย่างขนาดและวิธีการให้ยา
Nifedipine 10 mg oral ทุก 15 นาที 4 ครั้ง (ให้ยาได้ไม่เกิน 40 mg ใน 1 ชั่วโมงแรก)
หลังจากนั้นอีก 4 – 6 ชั่วโมง ให้ยา Nifedipine 20 mg oral ทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 48 – 72 ชั่วโมง (ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 120 mg/day)
หลังจากครบ 72 ชั่วโมง ให้ maintenance ด้วยยา Nifedipine 30 – 60 mg oral วันละครั้ง (ไม่ควรให้ยานานเกินกว่า 7 วัน)
หรือ ให้ maintenance ด้วยยา Nifedipine 30 – 60 mg oral วันละครั้ง หลังได้ loading dose ด้วย Nifedipine 10 mg oral ทุก 15 นาที 4 ครั้ง แล้วไม่มี contraction (ไม่ควรให้ยานานเกินกว่า 7 – 10 วัน)
อาการข้างเคียง
ด้านมารดา
ปวดศีรษะ, คลื่นไส้ (nausea)
ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
ร้อนวูบวาบ (flushing)
ใจสั่น (palpitations), หัวใจเต้นเร็ว (tachycardia)
ด้านทารก
พบน้อยมาก, อาจพบหัวใจเต้นเร็ว (tachycardia)
ข้อห้าม
ความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 mmHg
โรคหัวใจ
การทำงานของตับบกพร่อง
ได้รับยาลดความดันโลหิตตัวอื่นร่วมด้วย หรือระมัดระวังในกรณีได้รับยา MgSO4
ยาระงับปวด
Meperidine
(Pethidine, Demerol)
นิยมให้ทางหลอดเลือดดำขนาด 25-50 มก.
ฉีดช้า ๆ เป็นเวลานานกว่า 5 นาที
ออกฤทธิ์ไวภายใน 5-10 นาที มีฤทธิ์ระงับปวดได้นาน 2-4 ชม.
ผลข้างเคียง
อาการคลื่นไส้ 70%
อาเจียน 45%
ยาแก้ฤทธิ์
naloxone hydrochloride (Narcan)
ให้ 0.1 mg/kg ฉีดเข้า umbilical vein ยาออกฤทธิ์ 2 นาที นาน 30 นาที ซ้ำได้ 3-5 นาที บางครั้งฉีดที่ต้นขาทารกได้
แก้ฤทธิ์การกดระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหัวใจ และระบบหายใจที่เกิดจากการให้ยา meperidine เกินขนาด
promethazine
(phenergan)
ใช้ 25 mg. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าหลอดเลือดดำได้ เพื่อแก้ฤทธิ์การคลื่นไส้ อาเจียนจาก meperidine
Meperidine ผ่านรกไปสู่ทารกได้รวดเร็ว หลังจากให้ยาทางหลอดเลือดดำ ระดับยาในทารกจะขึ้นสูงสมดุลย์กันในมารดาในเวลาเพียง 6 นาที และระดับยาจะขึ้นสูงสุดในทารกระหว่าง 1-4 ชม. หลังฉีดยา ดังนั้นทารกที่เกิดในช่วงเวลานี้จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการกดการหายใจจากยาสูง
morphine
ไม่นิยมใช้
กดการหายใจทารก
ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับยาบรรเทาปวด
อธิบายผลดี ผลข้างเคียงจากการใช้ยา ซึ่งยาแก้ปวดที่นิยมใช้ในห้องคลอด คือ Morphine , Pethidine ทำให้กดการหายใจ เกิดอาการคลื่นไส้ หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตต่ำ เวียนศีรษะ เหงื่อออก เป็นลมและปัสสาวะคั่ง
อธิบายผลของยาต่อทารก จะไปกดระบบประสาทส่วนกลาง ระบบไหลเวียนโลหิตของทารกในครรภ์ และยาออกฤทธิ์นาน 2-3 ชั่วโมง ก่อนให้ยาต้องแน่ใจว่าจะไม่คลอดภายใน 4 ชั่วโมง
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและหลังจากการได้รับยาบรรเทาปวด
หากทารกคลอดภายใน 4 ชั่วโมงหลังจากให้ยาบรรเทาปวด ประเมิน APGAR Score เพื่อ ใช้เป็นแนวทางการช่วยเหลือทารกแรกเกิดต่อไป และส่งทารกเพื่อสังเกตอาการต่อที่ตึกทารกป่วย พร้อมทั้งอธิบายให้มารดาทราบ
เตรียมยา Naloxone (Narcan) ให้พร้อมใช้ Naloxone เป็นยาที่ใช้แก้ฤทธิ์การกดระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหัวใจ และระบบหายใจที่เกิดจากการให้ยา Pethidine เกินขนาด ขนาดยาที่ใช้ในมารดา คือ 0.4 มก. ทางหลอดเลือดดำ
ขนาดที่ใช้ในทารกคือ 0.1 มก./กก. ทางหลอดเลือดดำหรือกล้ามเนื้อยาจะออกฤทธิ์ภายใน 2-3 นาที มีฤทธิ์นาน 1-2 ชม. แนะนำให้ฉีดแก่ทารกแรกเกิดโดยตรงเมื่อทารกมีอาการที่เกิดจากการ กดของ opioids
บันทึกการประเมินอาการ ปัญหา ความต้องการ
และวินิจฉัยทางการพยาบาลเป็นรายบุคคล
(Individual case ) ให้ครบถ้วนและต่อเนื่อง
นางสาววนิดา แสงสุริยา 602701079 เลขที่ 78