Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม, นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส…
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาในระยะคลอด
Oxytocin
ใช้เพื่อ Augmentation of labor
dose infusion pump and solution 10 u/1000 cc.
0.5-2 m u/min ทุก 30-60 นาที until 20-40 mu/min
เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว 40-90 mmHg (Internal mornitor)
Duration 60-90 วินาที ทุก 2-3 นาท
ข้อควรระวัง
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดศีรษะ
ความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาล
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา (ส่วนใหญ่นิยมใช้ 5% D/W 1000cc+Synto 10U)
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Interval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่า 60 วินาที ปฏิบัติดังนี้
หยุดการให้ออกซิโตซินทางหลอดเลือดด า
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ออกซิเจน 6-8 ลิตร/นาที
รายงานแพทย์
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที จนกว่าการหดรัดตัวของมดลูกจะดี คือ Interval อยู่ในช่วง 2-3 นาที Duration อยู่ระหว่าง 45-60 วินาที
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที หากทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้ออกซิโตซินทันทีและรายงานแพทย์
การช่วยเหลือทารกในครรภ์
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ I.V Fluid
ให้ O2 6-8 ลิตร/นาที
On Electric Fetal Momitoring
พิจารณาหากปากมดลูกเปิดหมดอาจเตรียมการคลอดด้วย F/E
ปากมดลูกเปิดน้อยอาจเตรียมผู้คลอด C/S
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ขนาดและจำนวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
จำนวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
สัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15-30 นาที
Record I/O
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
Magnesium sulfate
ความผิดปกติที่ต้องรายงานแพทย์
-RR<=14 ครั้ง/นาที, HR<60 ครั้ง/นาที, urine out put น้อยกว่า 30 cc/hr, BP < 90/60, ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ, deep tendon reflex < 2+, มีอาการแสดงบ่งว่าระดับแมกนีเซียมสูงเกินไป
Antidote: Calcium gluconate 1g IV push ช้าๆ 3 นาที
สารน้ำที่เข้ากัน D5W, D5S ขนาดยาไม่เกิน30-40g/day
วิธีการบริหารยา : Loading dose: 4g push นาน 5-10 นาที ตามด้วย IV drip 1-2 gm/hr โดยใช้ infusion pump ทุกครั้ง หากเกิดชักซ้ำ ให้เพิ่มยา 2 g รูปสารละลาย 20% ให้ยาช้าๆไม่เกิน 1g/min
ข้อบ่งชี้ : ป้องกันการชักจากภาวะ eclampsia, pre-eclampsia
การพยาบาล
• Maintain electronic fetal monitoring
• Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl)
• เตรียม 10% Calcium gluconate
• Monitor intake and output
• ประเมินอาการ magnesium toxicity
• ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เพื่อบรรเทาอาการร้อนวูบวาบตามร่างกาย
• ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate และใช้เครื่อง Infusion pump
ให้ยาลดความดันโลหิต
First-line therapy:
Nifedipine
ให้ในรูปแบบรับประทาน เริ่มที่ 10 mg oral จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำใน 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Nifedipine ซ้ำอีก 20 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้ำอีก 40 mg และปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อให้ยาชนิดอื่นเพิ่มเติม
Hydralazine
เริ่มที่ 5 mg ทางหลอดเลือดดe (IV) จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำใน 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Hydralazine ซ้ำอีก 10 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol 20 mg IV จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol 40 mg IV และปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อให้ยาชนิดอื่นเพิ่มเติม
Labetalol
เริ่มที่ 20 mg ทางหลอดเลือดดe (IV) จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำใน 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้ำอีก 40 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้ำอีก 80 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Hydralazine 10 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้ำอีก 20 นาที
Second-line therapy
Labetalol
ผสมให้ได้ 1 mg/ml IV drip rate 20 mg/hr เพิ่มได้ 20 mg/hr ทุก 30 นาที total dose ไม่เกิน 160 ml/hr
Nicardipine
ผสมให้ได้ 0.1 mg/ml IV drip rate 25-50 ml/hr (2.5-5 mg/hr) titrate ทีละ 2.5 mg/hr ทุก15 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน 15 mg/hr
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
Hydralazine
สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในการลด afterload ส่วน ACE inhibitor ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของทารก ได้แก่ การคลอดก่อนกำหนด ทารกน้าหนักน้อย ความดันโลหิตต่า ไตวาย กระดูกวิกลรูป patent ductus arteriosus และ respiratory distress syndrome ยา angiotensin II receptor blockers ก็ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์เช่นกัน ส่วนยากลุ่ม nitrate ไม่มีข้อมูล
ยาห้ามเบต้า (beta-blocker)
สามารถใช้ได้เพื่อควบคุมความดันโลหิตและอัตราการเต้นหัวใจเช่น labetalol ส่วนตัวอื่นพบว่ายังมีผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์
Digoxin
สามารถใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวได้ร่วมกับการใช้ยาขับปัสสาวะ แต่ควรระวังเรื่องภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำ (hypokalemia) แต่ไม่ควรใช้ใน hypertrophic obstructive cardiomyopathy ยาขับปัสสาวะก็สามารถใช้ได้ในหญิงตั้งครรภ์โดยไม่มี teratogenic effect แต่มีผลกับการลดการไหลเวียนเลือดที่รก
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
ยา quinidine ใช้ในการรักษา atrial และ ventricular tachycardia ในระหว่างการ ตั้งครรภ์ได้ แต่ควรเฝ้าระวังระดับยาในเลือด และปฏิกิริยากับ warfarin ซึ่งจะทาให้ prolonged prothrombin time ยา quinidine มีผลต่อทารกไม่มากนัก ส่วนยา procainamide ก็สามารถใช้ได้ในกรณี wide-complex tachycardia
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
unfractionated heparin (UFH), low-molecular weight heparin (LMWH) และ warfarin
นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125