Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
Premature rupture of membrane :PROM🎀
สาเหต ุ
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
ครรภ์แฝด
การเจาะถุงน ้าคร่ำ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
รกลอดตัวก่อนกำหนด
ปากมดลูกปิดไม่สนิท
ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีน้ำใสๆหรือน้ำสีเหลืองจางๆไหลออกทางช่องคลอดทันทีจนเปียก
ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine paper test ช่องคลอดมีpH อยู่ระหว่าง 4.5 - 6
การทดสอบรูปใบเฟิร์น(Fern test) เห็นผลึกรูปใบเฟิร์น
การทดสอบไนบลู(Nile’ blue test)
การตรวจ U/S เพื่อดูปริมาณน้ำคร่ำ
การรักษา
ในรายที่มีการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์และ
คลอด
รั่วมานานเกิน 18-24 ชั่วโมง
C/S
ในรายที่ไม่มีการติดเชื้อ
อายุครรภ์< 36 สัปดาห์ ให้ชักนำการคลอด
อายุครรภ์ประมาณ 34-36 สัปดาห์ ให้รักษาแบบประคับประคอง
อายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ให้ยา
ปฏิชีวนะ และให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์ อาจชักนำให้เกิดการคลอด
Postterm pregnancy🎀
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
NST
BPP
CST
Ultrasound
การชักนำการคลอด
เซาะแยกถุงน้ำคร่ำ
การใช้ยา Prostaglandin
อาการและอาการแสดง
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม
หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป
เล็บยาว
IUGR 🎀
การจำแนก
Symmetrical IUGR
เจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
Asymmetrical IUGR
มีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การวัด fundal height
ระหว่าง GA 24-38 weeks
Ultrasound
ทำทุก 3-4
สัปดาห์ ตรวจด ู AC,HC
Amniotic fluid volume
การวินิจฉัยหลังคลอด
การดูแลรักษา
การซักประวัติ
การตรวจวัด fundal height (FH) ทุกครั้งที่มาท าการฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของ
ทารก
การดูปริมาณน้ำคร่ำ
การ surveillance เช่น NST หรือ BPP