Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัย และการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัย
และการพักผ่อนนอนหลับ
ดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ความหมาย
สุขอนามัย
หลักการ และความรู้ที่รักษาสุขภาพ รวมถึงการป้องกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลตัวเอง
ความสำคัญ
เป็นพื้นฐานของมนุษย์
จำกัดสิ่งที่ทำให้ไม่สุขสบาย
ปัจจัยที่มีผล
อายุ
ภูมิต้านทานต่างกัน
เพศ
เพศหญิงอ่อนแอกว่าเพศชาย
ภาวะสุขภาพ
เมื่อป่วย จะทำให้ขาดความดูแลความสะอาด
การศึกษา
ทำให้รู้ถึงการดูแลความสะอาด
เศรษฐกิจ
ฐานะดี จะดูแลตัวเองดี
ฐานะไม่ดี จะไม่มีเวลาดูแลตัวเอง
อาชีพ
อาชีพที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้
ถิ่นที่อยู่
วิถีชีวิตแต่ละพื้นที่ต่างกัน
ภาวะเจ็บป่วย
สนใจการดูแลความสะอาดลดลง
สิ่งแวดล้อม
ถ้าอบอ้าว ต้องหมั่นเอาใจใส่
ประเพณี ความเชื่อ
เช่น ห้ามสระผมตอนมีไข้
ความชอบ
เข้าฝึกอบรมการดูแลตัวเอง
ช่วงเวลาการดูแล
ตอนเช้าตรู่ หรือเช้ามืด
เช็ดหน้า ล้าง มือ แปรงฟัน
ตอนเช้า
ดูแลเล็บ ผม เปลี่ยนชุด จัดที่นอน
ตอนบ่าย หรือตอนเย็น
สระผม ล้างมือ
ตอนก่อนนอน
ล้างหน้า แปรงฟัน เตรียมนอน
เมื่อจำเป็น หรือต้องการ
เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ปูที่นอน
การดูแลร่างกาย
ผิวหนัง/การอาบน้ำ
ที่ห้องน้ำ
ใช้ฝักบัว หรือตักอาบ
สำหรับผู้ป่วยที่ลุกจากเตียงได้
บนเตียงเฉพาะบางส่วน
เช็ดในส่วนที่ผู้ป่วยเช็ดเองไม่ได้
สำหรับผู้ป่วยมี่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
บนเตียงชนิดสมบูรณ์
สำหรับผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
อาบน้ำให้
แปรงฟัน เช็ดหน้า เช็ดตัว นวดหลัง ปูที่นอน
การนวดหลัง
ทำให้ไว้วางใจ
ป้องกันแผลกดทับ
ปากและฟัน
หลักการ
แปรงทุกซี่ ทุกด้าน นาน5 นาที
ผู้ที่ไม่รู้สึกตัว เช็ดด้วยสำลี
ผู้ที่มีแผลในช่องปาก ทำความสะอาดทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
ใช้ลูกยางบีบน้ำเข้าไป และใช้เครื่องดูด ดูดออก
ใช้ไม้พันสำลีแปรงด้านนอก และเหงือก
ผู้ที่ช่วยเหลือตัวเองได้
นำเครื่องไปที่เตียง และให้แปรงตามขั้นตอน
เล็บ
ตัดให้สั้นตามความเหมาะสม
ตา
อาจทำความสะอาด 2-3 ครั้ง
ใช้สำลี เช็ดเกลือหมาดๆ
หู
ใช้ไม้พันสำลีเช็ดหู และหลังหู
ถ้าใช้เครื่องช่วยฟัง ให้เปลี่ยนแบตอย่างระมัดระวัง
จมูก
ใช้สำลีพันไม้ชุดน้ำ เช็ดในรูจมูก
ถ้าใส่สายยาง ใช้สำลีชุบเบนซินเช็ดคราบ
พลาสเตอร์ออก แล้วค่อยทำความสะอาด
เส้นผม และศีรษะ
น้ำรถเข็นสระผมเคลื่อนที่ มาสระบนเตียง
ใช้สำลีบีบชุบน้ำหมาดๆ มาอุดหูกันน้ำเข้า
อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
ปกติทำวันละ 2 รอบ
หลังจากถ่ายปัสสาวะ หรืออุจจาระ
ล้างด่วยน้ำเกลือ หรือน้ำอุ่น
กระบวนการพยาบาล
การประเมิน
ความสามารถการดูแลตนเอง
ความชอบ ความเชื่อ
ผิวหนัง ปาก ผม หู ตา จมูก
ปัญหา และความเสี่ยงของการรักษา
การวินิจฉัย
พร่องความสามารถจาก...
การเครื่องไหวบกพร่องจาก...
เหนื่อยง่ายจาก...
ไม่ดูแลความสะอาดจาก...
การวางแผน
กำหนดวัตถุประสงค์
เลือกกิจกรรมดูแล
การปฏิบัติ
อาบน้ำ
นวดหลัง
ล้างปาก แปรงฟัน
สระผม
ล้างอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผล
ประเมินผลลัพธ์
ประเมินคุณภาพ
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมาย
การพัก หรือหยุดการทำงานต่างๆ ให้สงบ ผ่อนคลาย
ความสำคัญ
ทำให้เกิดความสมดุลของร่างกาย และจิตใจ
วงจรการนอนหลับ
หลับธรรมดา
ระยะที่ 1 เริ่มง่วง
เข้าสู่การนอน ใช้เวลา 30วินาที-7นาที
ระยะที่ 2 หลับตื้น
ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก แต่ไม่ฝัน
ระยะที่ 3 หลับปานกลาง
คลื่นสมอง และชีพจรเต้นช้าลง ใช้เวลา 20-30 นาที
ระยะที่ 4 หลับลึก
อาจะละเมอ และฝันร้าย ใช้เวลา 30-50 นาที
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้ง/นาที
หลับฝัน
ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
หากเข้าสู่ช่วงฝัน จะวนกลับมาระยะที่ 1 รอบละ 80-120 นาที
สิ่งที่ลดลง
ผลิตความร้อนลดลง 10-15%
อุณหภูมิลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮต์
การเต้นชีพจรลดลง 10-30 ครั้ง/นาที
กล้ามเนื้อ และเอ็นต่างๆคลายตัว
ปริมาณปัสสาวะน้อยลง
ปัจจัย
ภายใน
ส่วนบุคคล
อายุ
ในผู้สูงอายุ การนอนหลับลดประสิทธิภาพลง
เพศ
เพศชายเปลี่ยนแผนการนอนหลับได้เร็วกว่าเพศหญิง
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
ใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนไม่เหมาะสม
คลื่นไส้ อาเจียน
ไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ไม่คุ้นกับสถานที่
มีความขัดแย้งในใจ
ภายนอก
เสียง
เสียงจากกิจกรรมรอบด้าน
อุณหภูมิ
อุณหภูมิต่ำ หรือสูงเกินไป
แสง
แสงจ้าเกินไป
ความไม่คุ้นเคยกับสถานที่
ขนาดเตียง
สภาพแวดล้อมรอบเตียง
กิจกรรม
ทานอาหาร หัตถการต่างๆ
อาหาร
สารทริพโทแฟ็น
ยา
ยาบาบิทูเรต
ประเมินการนอนหลับ และหลับผิดปกติ
Insomia
ชั่วคราว
3-5 วัน
ระยะสั้น
ไม่เกิน 3 สัปดาห์
เรื้อรัง
มากกว่า 1 เดือน
สาเหตุ
โรคซึมเศร้า
โรคสมองเสื่อม
ผลข้างเคียงจากยา
ขากระตุกเป็นพักๆ
Hypersomia
ง่วงนอนมากกว่าปกติ ฝืนไม่ได้
หลับขณะขับรถ
หลับขณะรับประทานอาหาร
หลับในห้องประชุม
Parasomis
การตื่น
ฝันร้าย สับสน
หลับมาตื่น ตื่นมาหลับ
ละเมอ กระตุก
กรอกตา
ฝันร้าย ผีอ
อื่นๆ
กรน ไหลตาย
ผลจากการนอนหลับผิดปกติ
ชนิด REM
ประสาทปกพร่อง
การรับรู้บกพร่อง
ประสาทหลอน
ชนิด NREM
เมื่อยล้า
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก
กล้ามเนื้อคออ่อนแรง
ภูมิต้านทานลดลง
ภาพรวม
อ่อนล้า
ขาดสมาธิ
กระบวนการพยาบาล
การประเมิน
ซักถาม
ตรวจร่างกาย
การวินิจฉัย
พักผ่อนไม่เพียงพอจาก...
การวางแผน
วางแผนให้นอนหลับให้เพียงพอกับความต้องการ
การปฏิบัติ
งดชา กาแฟ
ไม่ให้ดื่มน้ำหลังหกโมงเย็น
สอนเทคนิคคลายเครียด
การประเมินผล
สังเกตอาการของผู้ป่วย
การนอนหลับ
อวัยวะทุกส่วนทำงานลดลง
ปลุกได้โดยมีการกระตุ้นที่เหมาะสม
ผลกระทบ
ต่อร่างกาย
เมื่อยล้า ทนต่อความเจ็บปวดน้อยลง
จิตใจ และอารมณ์
หงุดหงิดง่าย หูแว่ว
สติปัญญา
สมาธิไม่ดี แก้ปัญหาได้ช้า
สังคม
ความมั่นใจลดลง
การทำเตียง
ทำเตียงว่าง
เพื่อรองรับผู้ป่วยใหม่
ทำเตียงผู้ป่วยที่ลุกได้
ผู้ที่ไม่จำเป็นต้องอยู่บนเตียวตลอดเวลา
ทำเตียงผู้ป่วยที่ลุกไม่ได้
ผู้ที่จำเป็นต้องอยู่บนเตียงตลอดเวลา
ทำเตียงผู้ป่วยหลังผ่าตัด และได้รับยาสลบ
ผู้ที่พึ่งได้รับการผ่าตัด
การส่งเสริม
จัดสิ่งแวดล้อม
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
อุปกรณ์พร้อมใช้
อากาศถ่ายเท
ไม่สลัวไม่จ้าเกินไป
กลิ่น
หอม
กลิ่นสะอาด สดชื่น
เหม็น
เลือด เหงื่อ
จัดท่าทางผู้ป่วย
นอนหงายราบ ขาชิดกัน
นานราบหัวสูง 30-90 องศา
นอนคว่ำ
นอนตะแคง
นั่งแบบสบาย