Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
3.1 การส่งเสริมสุขอนามัย
คือ เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง การคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรค โดยการดูแลความสะอาดส่วนต่าง ของร่างกาย
3.1.1 ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขภาพตนเองเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทาความสะอาดร่างกาย
ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐาน
การดูแล
สุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์และเป็นสิ่งที่พยาบาลควรตระหนักถึงเนื่องจาก
ความสุขสบายทั้งทางร่างกาย
3.1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันออกไปแล้วแต่วัฒนธรรม
ศาสนา ฯลฯ ได้แก่
อายุ เช่น เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตนเองผู้ปกครองต้องให้การดูแลอย่าง
ใกล้ชิด
เพศ
เช่น เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ และไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชาย
ภาวะสุขภาพ
มื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง
ทาให้ขาดความสนใจ หรือละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา
ความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิว
และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
3.1.3 การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ปุวย เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถ
พิจารณากระทาได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคาสั่งของแพทย์
เมื่อผู้ปุวยเข้านอนรักษาโรงพยาบาลจนถึง
จาหน่ายกลับบ้านพยาบาลจะช่วยดูแลสุขวิทยาส่วน
บุคคลให้ครบถ้วนช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมี
ดังนี้
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
3.1.4 การดูแลความสะอาดร่างกาย
พยาบาลต้องเป็นผู้ให้การดูแลความสะอาดของร่างกายของผู้ปุวย โดยมีหลักการดูแลสุขอนามัย
ส่วนบุคคล
3.1.4.1 การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้า (Bathing)
การอาบน้า (Bathing) เป็นการขจัดของเสียที่ร่างกายขับออกมา
เช่น คราบ
เหงื่อ น้ามัน และสิ่งสกปรก ฝุนละออง และแบคทีเรีย ออกจากร่างกาย
จะมีชนิดของการอาบน้ำ ดังนี้
การอาบน้าที่ห้องน้า (Bathing in bath room/ Shower)
เป็น
การช่วยเหลือพาผู้ปุวยไปทาความสะอาดร่างกายในห้องน้า
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
เป็นการ
ทาความสะอาดร่างกายผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
เป็นการทาความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้าเช็ดตัวให้ผู้ปุวยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด
จุดประสงค์ การอาบน้าผู้ปุวยบนเตียง
กาจัดสิ่งสกปรก
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
และส่งเสริมการออกกาลังกายของข้อต่าง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
ทาให้
ผู้ปุวยเกิดความไว้วางใจและมีสัมพันธภาพที่ดีกับพยาบาล
3.1.4.2 การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐาน
ทาให้ลมหายใจหอมสดชื่น ผู้ปุวยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กาจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ปูองกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก
3.1.4.3 การดูแลความสะอาดของเล็บ
เล็บเป็นโครงสร้างจากโปรตีน ซึ่งจะ
งอกยาวตามเวลาจึงต้องทาการตัดให้สั้นตามเหมาะสมกับการใช้งาน
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว
กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้าอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
3.1.4.4 การดูแลความสะอาดของตา
เป็นการทาความสะอาดตา รวมทั้ง
การกระทา เพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
จุดประสงค์
กาจัดขี้ตา ทาให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ปุวย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสาลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
3.1.4.5 การดูแลทำความสะอาดของหู
โดยปกติคนทั่วไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบ
หูหลังสระผมมักจะมีน้าเปียกในช่องหูใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทาความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
0.9% NSS หรือน้าสะอาด
สาลีสะอาด หรือไม้พันสาลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
3.1.4.6 การดูแลทาความสะอาดของจมูก
เป็นการทาความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพ
ของเนื้อเยื่อจมูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ปุวยที่คาสายไว้
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ปูองกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ปูองกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
3.1.4.7 การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เป็นการทาความสะอาดเส้น
ผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทาเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ปุวย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวยและรู้สึกมีความมั่นใจ
3.1.4.8 การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกของชายและหญิง
การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกของผู้ชาย (Perineal care of
male)ป็นการทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ปุวย
3.1.4.9 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบ
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษา
และอาการผิดปกติที่อาจ
เกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเอง
มีความทนในการทากิจกรรมลดลง
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
การวางแผนการพยาบาล
(Planning)
กาหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล
การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
3.2 การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อนนอนหลับที่ดีมีคุณภาพ
เป็นพฤติกรรม
สุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีทุก วัน
3.2.1 ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน (Rest) หมายถึง การพักกิจกรรมการทางานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่าง
การพักผ่อนของผู้ปุวยในโรงพยาบาล แบ่งออกเป็น
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้
ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถทา
กิจกรรมประจาวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย
การนอนหลับ
ระดับการรู้สติลดลง มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลงอวัยวะทุกส่วนทางานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจ
3.2.2 ความสาคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การนอนหลับจึงเป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุดและมีความสาคัญ ดังนี้
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
โดยมีการสร้างและสะสมพลังงาน
ในขณะหลับ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วย
สะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจา
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
3.2.3 ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
3.2.3.1 ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน (vertigo)
ตัดสินใจได้ช้าและรู้สึกว่าตนเองมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นจากสิ่งเร้าได้ง่าย ความทนต่อ
ความเจ็บปวดลดลง
3.2.3.2 ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงของ
อารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
3.2.3.3 ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
3.2.3.4 ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทางานลดลง
3.2.3 วงจรการนอนหลับ
บุคคลทั่วไปต้องการนอนหลับวันละ 7 ชั่วโมง หรือ 4-6 วงจรการนอนหลับ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวน
จากภายนอก
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง) ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติ
รู้ตัวจะหายไป
ระยะที่ 4 (หลับลึก) เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที
2) ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อ
ต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทางานกันหมด
โดยในช่วงนี้ตาจะกลอกไปซ้าย
ขวาอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะได้พักผ่อน แต่สมองจะยังตื่นตัวอยู่
ในขณะที่นอนหลับสรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่าเสมอ
3.2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.4.1 ปัจจัยภายใน
1
) ปัจจัยส่วนบุคคล
1.เพศ
2.อายุ
2) ความไม่สุขสบาย
1.ความไม่สุขสบาย
2.การใส่สายสวนต่างๆ
3) ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
4) อาการคลื่นไส้ อาเจียน
5) ภาวะไข้หลังผ่าตัด
3) ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง
เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ
3.2.4.2 ปัจจัยภายนอก
1) เสียง
ระดับเสียงที่ผู้ฟังไม่ต้องการจะได้ยินเพราะสามารถกระทบบ ต่อ
อารมณ์ ความรู้สึกได้แม้จะไม่เกินเกณฑ์ที่เป็นอันตราย
2) อุณหภูมิ
อุณหภูมิที่ต่าหรือสูงเกินไป จะทาให้ผู้ปุวย
กระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
3) แสง
การเปิดไฟเพื่อให้การพยาบาลบ่อยครั้งเป็น
การรบกวนการนอนหลับของผู้ปุวย
3.2.5 การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ
การนอนหลับที่ผิดปกติ
3.2.5.1 Insomnia เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
1) การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
เป็น
การนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป มีสาเหตุมาจาก
1) โรคทางจิตเวช
เช่น โรคซึมเศร้า (depression)
2) โรคทางอายุรกรรม
เช่น โรคสมองเสื่อม
3) อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
3.2.5.2 Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติซึ่ง
จะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ
3.2.5.3 Parasomnia
1) ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
ได้แก่ อาการ
สับสน (confusion arousals)
2) ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
3) กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ได้แก่ เมื่อยล้า คลื่นไส้
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง
การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทาให้การทางานของร่างกาย
ขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
3.2.6 การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
3.2.6.1 การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้ และเครื่องอานวยความสะดวก
ต่างๆ
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศา
เสียง แหล่งกาเนิดเสียงจากภายนอกห้อง
3.2.6.2 การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position)
เป็นท่านอนหงายราบ ขา
ชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป
Fowler’s position
เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็น
ท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
Prone position
เป็นท่านอนคว่า เป็นท่านอนที่สุขสบาย สาหรับ
ผู้ปุวย ที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ
Lateral position
เป็นท่านอนตะแคง จัดเพื่อความสุขสบายของ
ผู้ป่วย
Sitting position
เป็นท่านั่งที่สุขสบายสาหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยน
อิริยาบถ
3.2.7 การทำเตียง
การเปลี่ยนเครื่องผ้าที่ใช้กับเครื่องนอน
ให้สะอาด เรียบร้อย
การทาเตียง มี 4 ชนิด คือ
**
1) การทาเตียงว่าง (Close bed)
เป็นการทาเตียงที่ผู้ปุวยจาหน่ายออกจากหอผู้ปุวยให้กับผูเป่วยใหม่
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ปุวยใหม่
2) การทาเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
เป็นการทาเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้ ไม่จาเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
จุดประสงค์
ให้ผู้ปุวยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
3) การทาเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed
ผู้ปุวยไม่รู้สึกตัว ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ หรือได้ต้องพึ่งผู้อื่นในการทากิจกรรม
จุดประสงค์
ให้ผู้ปุวยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่
4) การทาเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ปุวยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ปุวยสาลักหรือลิ้นตก
3.2.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการ
พักผ่อนและการนอนหลับ
ตัวอย่าง
ผู้ปุวยหญิงรายหนึ่ง แพทย์วินิจฉัยเป็นโรค insomnia จึงรับตัวไว้ในโรงพยาบาล ให้ประวัติว่ามีอาการนอนไม่หลับมา 3 วัน
1. การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ พบว่า
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณ ร้อยละ 50
2. การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis
)
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
3. การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
4. การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
5. การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ต้องมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การ
ประเมินผลข้างต้น