Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม (ระยะคลอด) - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม (ระยะคลอด)
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
pethidine (meperidine)
มีการใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์ในระยะคลอด
ให้ในอัตรา 12.5-50 mg intravenous หรือ 50-100 mg intramuscular ทุก 2-4 ชั่วโมง โดยยาจะเริ่มออกฤทธิ์หลังฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ 5 นาที และอาจให้ยาร่วมกับ plasil (metoclopramide) 10 mg
การพยาบาล
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการกดการหายใจ
เฝ้าระวังการกดหายใจในทารกซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ หลังฉีดยา pethidine 3-5 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพหลังฉีดยา 15 นาที, 30 นาที -1 ชั่วโมง
ติดตาม Level of consciousness
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก
ความดันโลหิตต่ำ
Tremors
Myoclonic jerk
seizures
การเป็นพิษ
CNS & respiratory depression, mydriasis ,bradycardia,hypotension, cardiac arrest, shock
Antidote คือ Naloxone
กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
oxytocin
ค์เพื่อชักนำการคลอด (induction of labor) หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการหดรัดตัวของมดลูก (augmentation of labor)
หลักการให้ยา
ต้องเจือจางยา oxytocin ในสารน้ำ isotonic solution เช่น 5% D/N/2, NSS, LRI โดยเจือจางยาในอัตราส่วนที่กำหนดตามมาตรฐานการให้ยาของแต่ละโรงพยาบาล
ควรให้คู่กับสารน้ำอีก 1 ขวด (piggy back) เพื่อสามารถหยุดให้ยาได้ทันที กรณีมีการหดรัดตัวของมดลูกถี่ นาน หรือมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ปรับอัตราการให้ยา oxytocin เพิ่มขึ้น ในอัตรา 1-2 milliunit/min ตามการตอบสนองของการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที – 1 ชั่วโมง
ควรปรับอัตราการให้ยา oxytocin ลดลง หรือหยุดการให้ยา เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกนาน ถี่หรือ แรง มากเกินไป (hypertonic contraction)
ติดตามประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และอัตราการเต้นของหัวใจทารกก่อนให้ยา Oxytocinหลังให้ยา และตลอดระยะเวลาที่ให้ยา
การพยาบาล
ในระยะ 15 -20 นาทีแรกหลังให้ยา ต้องเฝ้าดูการหดรัดตัวของมดลูก เพื่อประเมินความไวของกล้ามเนื้อมดลูกต่อยา ถ้าปกติต่อไปให้ประเมินทุก 30 นาทีและทุกคร้ังก่อนและหลงัปรับจำนวนหยด
ปรับจำนวนหยดของยาทุก 30 นาที โดยเพิ่มคร้ังละ16 – 32 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
ความรุนแรงดี ( + 3 ) ควรจะจับ 3 คร้ังของการหดรัดตัวของมดลูก
ไม่ควรให้ยาเกินกวา่ 60 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง ถ้ามดลูกยังหดรัดตัวไม่ดีให้รายงานแพทย์
ฟังเสียงหัวใจทารกและประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
ถ้าพบสิ่งผิดปกติ ให้หยุดยาทันทีและในขณะนั้นให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายให้ออกซิเจน ฟังเสียงหัวใจทารกและประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาที รายงานแพทย์ทันที
อาการข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ
cardiac output เพิ่มขึ้น
คลื่นไส้และอาเจียน
เกิดการหลั่ง natriuretic peptide
ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
Bricanyl (terbutaline)
การยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกในสตรี ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ให้ยา 0.25 mgSubcutaneous ทุก 4 ชม. หรือเจือจางในสารละลาย isotonic solution ให้ทางหลอดเลือดด าในอัตรา 2.5-10 microgram/min และปรับขนาดยาได้สูงสุด 17.5-30 microgram/min หรือ เริ่มให้ยาในขนาด 0.01-0.05 mg/min และปรับเพิ่มในอัตรา 0.01 mg/min ทุก 10-30 นาที
การพยาบาล
ติดตามประมาณสัญญาณชีพทุก 1-4 ชม.
เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการให้ยา
ประเมินอาการของหญิงตั้งครรภ์
แนะนำหญิงต้งัครรภให้น้อนตะแคงซา้ยและนอนพกัให้มากที่สุด งดตรวจภายในถ้าไม่จำเป็น
ติด Monitor เพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ก่อนให้ยาอธิบายอาการข้างเคียงของยาให้หญิงต้งัครรภ์ทราบ
ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูกและฟังเสียงหัวใจทารกทุก 2 ชั่วโมง
อาการข้างเคียง
อาการใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตต่ำ
น้ำท่วมปอด
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ยาแมกนีเซียมซัลเฟต (MgSo4)
ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์เพื่อป้องกัน
อาการชัก(anticonvulsant) ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ severe-preeclampsia โดยออกฤทธิ์ลดการหลั่งสารacetylcholine ที่ปลายประสาท
แนวทางในการให้ยา MgSo4
MgSo4 4-6 g ในสารน้ า 100 มล. ให้ทางหลอดเลือดด า 15-20 นาที หรือ ให้ 10% MgSo4 4 g โดยเจือจางจาก 50% MgSo4 4 g ( 1 amp = 1 g= 2 ml) 8 ml ผสมกับ sterilewater 32 ml)
หลังจากนั้นให้ 50% MgSo4 1-2 g/hr โดยผสมในสารน้ า isotonic solution เช่น 5%D/N/2, NSS, LRI หรือฉีด 50% MgSo4 10 g (20 ml) เข้าทางกล้ามเนื้อสะโพก (gluteus maximus) ข้างละ 5 g (10 ml) และ 5 g IM ทุก 6 ชม. จนครบ 24 ชม.
การพยาบาล
ติดตามประเมินสัญญาณชีพทุก 30 นาที- 1 ชม. หรือทุก 2-4 ชม
ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เช่น เช็ดตัว ประคบด้วยผ้าเย็นหรือกระเป๋านน้ าแข็ง
ประเมินอาการ magnesium toxicity เช่น absent Deep tendon reflex, RR < 14 /min
ประเมินผลข้างเคียงของยาอื่นๆที่จะเกิดขึ้นคือ ผิวหนังแดง ร้อนวูบวาบ เหงื่อออก คลื่นไส้ / อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Monitor intake and output โดยเฉพาะรายที่มี decreased renal function
เตรียม 10% Calcium gluconate กรณีฉุกเฉิน
Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl
เฝ้าติดตามอัตราการหายใจ และ urine output ทุก 1 ชั่วโมง
Maintain electronic fetal monitoring เพื่อประเมิน fetal status
ผลข้างเคียง
หน้าแดง เหงื่อออก
ความดันโลหิตต่ำ
คลื่นไส้ อาเจียน
กดระบบประสาท