Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
ให้ยาลดความดันโลหิต
First-line therapy:
Hydralazine
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Hydralazine ซ้าอีก 10 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol 20 mg IV จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 10 นาที
เริ่มที่ 5 mg ทางหลอดเลือดดา (IV) จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าใน 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol 40 mg IV และปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อให้ยาชนิดอื่นเพิ่มเติม
Labetalol
เริ่มที่ 20 mg ทางหลอดเลือดดา (IV) จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าใน 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้าอีก 40 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้าอีก 80 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Hydralazine 10 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 20 นาที
Nifedipine
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Nifedipine ซ้าอีก 20 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 20 นาที
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Labetalol ซ้าอีก 40 mg และปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อให้ยาชนิดอื่นเพิ่มเติม
หากความดันโลหิตยังสูง > ให้ Nifedipine ซ้าอีก 20 mg จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าอีก 20 นาที
ให้ในรูปแบบรับประทาน เริ่มที่ 10 mg oral จากนั้นวัดความดันโลหิตซ้าใน 20 นาที
Second-line therapy
Nicardipine
ผสมให้ได้ 0.1 mg/ml IV drip rate 25-50 ml/hr (2.5-5 mg/hr) titrate ทีละ 2.5 mg/hr ทุก15 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน 15 mg/hr
Labetalol
ผสมให้ได้ 1 mg/ml IV drip rate 20 mg/hr เพิ่มได้ 20 mg/hr ทุก 30 นาที total dose ไม่เกิน 160 ml/hr
Magnesium sulfate
การพยาบาล
5.Monitor intake and output โดยเฉพาะรายที่มี decreased renal function
6.เตรียม 10% Calcium gluconate กรณีฉุกเฉิน
4.ประเมินผลข้างเคียงของยาอื่นๆที่จะเกิดขึ้นคือ ผิวหนังแดง ร้อนวูบวาบ เหงื่อออก คลื่นไส้ / อาเจียน ความดันโลหิตต่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
7.Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl)
3.ประเมินอาการ magnesium toxicity เช่น absent Deep tendon reflex, RR < 14 /min
8.เฝ้าติดตามอัตราการหายใจ และ urine output ทุก 1 ชั่วโมง ประเมิน deep tendon reflex ทุก 2- 4 ชั่วโมง หากมีอาการแสดงของการเป็นพิษจาก Magnesium sulfate ให้พิจารณาหยุดยาแล้วให้ 10% Calcium gluconate ทันที หลังจากนั้นเจาะเลือดหาระดับ magnesium ในซีรั่ม
2.ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เช่น เช็ดตัว ประคบด้วยผ้าเย็นหรือกระเป๋าน้ำแข็งเพื่อบรรเทาอาการร้อนวูบวาบตามร่างกาย
8.Maintain electronic fetal monitoring เพื่อประเมิน fetal status
1.ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate ตามแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ขณะตั้งครรภ์และใช้เครื่อง Infusion pump ในการให้ Continuous Intravenous Infusion
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
ยา quinidine ใช้ในการรักษา atrial และ ventricular tachycardia ในระหว่างการ
ตั้งครรภ์ได้ แต่ควรเฝ้าระวังระดับยาในเลือด และปฏิกิริยากับ warfarin ซึ่งจะทาให้ prolonged prothrombin time ยา quinidine มีผลต่อทารกไม่มากนัก ส่วนยา procainamide ก็สามารถใช้ได้ในกรณี wide-complex tachycardia
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
unfractionated heparin (UFH), low-molecular weight heparin (LMWH) และ warfarin
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
ยาห้ามเบต้า (beta-blocker)
สามารถใช้ได้เพื่อควบคุมความดันโลหิตและอัตราการเต้นหัวใจเช่น labetalol ส่วนตัวอื่นพบว่ายังมีผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์
hydralazine
สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในการลด afterload ส่วน ACE inhibitor ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของทารก ได้แก่ การคลอดก่อนกาหนด ทารกน้าหนักน้อย ความดันโลหิตต่า ไตวาย กระดูกวิกลรูป patent ductus arteriosus และ respiratory distress syndrome ยา angiotensin II receptor blockers ก็ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์เช่นกัน ส่วนยากลุ่ม nitrate ไม่มีข้อมูล
Digoxin
สามารถใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวได้ร่วมกับการใช้ยาขับปัสสาวะ แต่ควรระวังเรื่องภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่า (hypokalemia) แต่ไม่ควรใช้ใน hypertrophic obstructive cardiomyopathy ยาขับปัสสาวะก็สามารถใช้ได้ในหญิงตั้งครรภ์โดยไม่มี teratogenic effect แต่มีผลกับการลดการไหลเวียนเลือดที่รก
การใช้ยาในระยะคลอด
Oxytocin
การพยาบาล
4.
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Interval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่า 60 วินาที ปฏิบัติดังนี้
หยุดการให้ออกซิโตซินทางหลอดเลือดดา
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ออกซิเจน 6-8 ลิตร/นาที
รายงานแพทย์
5.ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที จนกว่าการหดรัดตัวของมดลูกจะดี คือ Interval อยู่ในช่วง 2-3 นาที Duration อยู่ระหว่าง 45-60 วินาที
3.ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
6.ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
2.เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
7.สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที หากทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้ออกซิโตซินทันทีและรายงานแพทย์
1.เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา (ส่วนใหญ่นิยมใช้ 5% D/W 1000 cc+Synto 10U)
8.ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
ข้อควรระวัง
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดศีรษะ
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
ความดันโลหิตต่ำ