Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม, image, image, image, image, image, image,…
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไป
ได้ในสังคมของตน ภาษาอังกฤษ คำว่า “culture”
พื้นฐานที่สำคัญของ
วัฒนธรรม
1) วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
2) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
3) วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
4) วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
5) วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
6) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
1) องค์วัตถุ (Material)เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ภาพเขียน
สิ่งก่อสร้างต่างๆ และการสร้างสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายต่างๆ
2) องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)เช่น สถาบันทางสังคมต่างๆ กลุ่มหรือ
องค์กรต่างๆ เช่น สหภาพ สมาคม ชมรม บริษัท เป็นต้น
3) องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)เช่น พิธีรับขวัญเด็ก พิธีโกนจุก
หรือพิธีบวชนาค พิธีแต่งงาน พิธีงานศพ การแต่งกาย มารยาททางสังคมต่างๆ
4) องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)เช่น ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ ความเชื่อในเรื่องกฎ
แห่งกรรม ความเชื่อในพระเจ้า รวมทั้งการมีอุดมการณ์ทางการเมือง
วัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
1) วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)เช่น ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทาง รวมไปถึงศิลปกรรม
ของมนุษย์เช่น รูปปั้น ภาพวาด เป็นต้น
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)เช่น
ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม ปรัชญา และกฎหมาย เป็นต้น
ความสำคัญของวัฒนธรรม
1) วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
2) การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
3) ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
4) ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
5) ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
6) ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
7) ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
1) ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
2) ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
3) ความเชื่อแบบประเพณี
4) ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
1) ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
2) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
3) ปัจจัยทางด้านบุคคล
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
1) ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
2) ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
3) ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตกมีหลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
ระยะคลอดบุตร
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกนสมอง
การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
ค่านิยมทางสังคม
ถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆ โดยตรง
ปัจจัยทางสังคม
ครอบครัว
โรงเรียน
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สื่อมวลชน
องค์การของรัฐบาล
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์