Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสำรวจและการผลิตปิโตรเลียม - Coggle Diagram
การสำรวจและการผลิตปิโตรเลียม
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
เกิดขึ้นจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประกอบด้วย
ความร้อนความดันของผิวโลกนับล้านล้านปีเป็นพลังงานที่สำคัญของโลกแต่เป็นพลังงานที่สิ้นเปลืองใช้แล้วหมดไป
ถ่านหิน เกิดจากการสะสมซากปริมาณมาก
หินน้ำมัน เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียด
ปิโตรเลียม เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เกิดจากการสะสม ซากพืชซากสัตว์ปริมาณมาก
ผลกระทบที่กิดขึ้นจากการสำรวจและการผลิตปิโตรเลียมต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมแนวทางแก้ไข
ผลกระทบ
บางกระบวนการเกิดการรั่วไหลของน้ำมันซึ่งซึมมาจากการขนส่ง
การเผาต่างๆโดยปล่อยทั้งควันพิษและน้ำมันไหลออกมา
แนวทางการแก้ไข
1.ออกแบบการผลิตต่างๆให้ได้มาตราฐาน
2.การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันการพุ้งของปิโตรเลียม
3.การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆในการป้องกันและจัดการคาบน้ำมันดิบในกรณีเกิดการรั่วไหล
การสำรวจปิโตเลียม
การสำรวจธรณีวิทยาการสำรวจชนิดและลักษณะกายภาพของหินที่อยู่บนผิวดิน
การสำรวจธรณีฟิสิกส์การสำรวจข้อมูลโครงสร้างธรณีวิทยาชั้นหินใต้พื้นผิวโลก
การเจาะลุมสำรวจเพื่อยืนยันการสำรวจว่าภายใต้พื้นผิวโลกมีแหล่งปิโตรเลียมอยู่หรือไม่
แหล่งปิโตรเลียม
มีการจายอยูาทั้งบนบกและในทะเล
แหล่งปิโตรเลียมที่ค้นพบทั่วโลกประมาณ 30000ที่
ส่วนมากพบที่แถบทะเลแคสเปียนและกลุ่มประเททางตะวันออก
ที่ประเทศไทยดำเนินการผลิตอยู่ 54 แหล่ง
การผลิตปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมทุกหลุมผลิตและถูกส่งไป แยกสถานะ
แก๊ส
แก๊สธรรมชาติ
น้ำมัน
น้ำ
ถูกส่งไปเพิ่มแรงดันและดูดความชื้นตามลำดับ
ทำการซื้อขายผ่านระบบมาตรวัด
ปิโตรเลียม
เกิดจากซากพืชซากสัตว์ในทะเลที่ตายแล้วทับถมกันเป็นเวลา
หลายล้านปี
เช่น การทับถมกันของสาหร่ายและแบคทีเรีย
ถูกทับถมกันใต้ตะกอนทรายหรือควรตมระดับหลายพันฟุต
ถูกอัดด้วยความร้อนและความดันจึงทำให้เป็นเชื้อเพลิงอยู่ใน สถานะน้ำมันดิบและแก๊ส