Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบคอมพิวเตอร์ - Coggle Diagram
ระบบคอมพิวเตอร์
สมาชิก
ณัฐรัตน์ หนูเกตุ เลขที่18 ม.4/13
บุณยนุช ลั่วสกุล เลขที่ 20 ม.4/13
กรวรรณ ทองด้วง เลขที่16 ม.4/13
พรธิมา ผ่องแผ้ว เลขที่22 ม.4/13
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Hardware
สามารถแบ่งส่วนได้เป็น 4 หน่วย
Process(ระบบประมวลผลกลาง)
ทำหน้าที่ในการทำงานตามคำสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม
ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ หรือ Chip
Input (หน่วยรับข้อมูล)
ทำหน้าที่
ที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้าเครื่อง
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
คีย์บอร์ด
เมาส์
เครื่องสแกน
Output(หน่วยแสดงข้อมูล)
ทำหน้าที่
แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
จอภาพ
เครื่องพิมพ์
Storage(หน่วยเก็บข้อมูล)
Primary Storage(หน่วยเก็บข้อมูลหลัก)
รับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเพื่อ
ส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
แยกเป็น2ประเภท
2 more items...
ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผล
Secondary Storage(หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง)
เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายในเครื่องก่อนทำการประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย
ปัจจุบันรู้จักในนามฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
Hardware คือ ลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (อุปกรณ์) สามารถ จับต้องได้
1.บุคลากร (Peopleware)
System Analyst and Designer : SA (นักวิเคราะห์ระบบ)
คือ
ผู้วิเคราะห์ปัญหาและนำมาเปลี่ยนให้เป็นรูปที่เหมาะสมสำหรับการประเมินค่าด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่
ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบเพื่อนำมาวิเคราะห์และออกแบบระบบงานใหม่
เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer)
Programmer (โปรแกรมเมอร์)
คือ
ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่
นำข้อมูลการออกแบบรายละเอียดการวางโครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ จากนักวิเคราะห์ระบบงาน
จากนั้นเขียนเป็นโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งจะมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะแตกต่างกันไป
เช่น
JAVA
JavaScript
PHP
C
Python
หลังจากเขียนโปรแกรมแล้ว ก็ทำการทดสอบระบบและส่งให้นักวิเคราะห์ระบบทำการตรวจสอบอีกครั้งเพื่อหากจุดบกพร่องและแก้ไขก่อนนำไปใช้จริง
User (ผู้ใช้)
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ที่มีความรู้ในด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์และการใช้งานโปรแกรมต่างๆ
Operator (ผู้ปฏิบัติการ)
คือ
ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่
ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งการเปิด-ปิด และการแสดงผลต่างๆ
Database Administrator : DBA (ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล)
คือ
ผู้รับผิดชอบเรื่องการบำารุงรักษา ประสิทธิภาพการทำางาน ความถูก
ต้องสมบูรณ์และรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ทำหน้าที่
ควบคุมการทำงานให้เป็นไปอย่างราบรื่น
กำหนดสิทธิการใช้งานข้อมูล
กำหนดในเรื่องความปลอดภัยของการใช้งาน
จัดทำแผนรองรับการเพิ่มขึ้นของข้อมูลที่จัดเก็บ
System Manager (ผู้จัดการระบบ)
คือ
ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน และเป็นผู้ที่มีความหมายต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเป็นอย่างมาก
ทำหน้าที่
บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร
3.ซอฟต์แวร์ (Software)
คือ ชุดคำสั่ง เป็นโปรแกรม สั่งการให้ (hardware) ฮาร์ดแวร์ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงานตามการออกแบบต่างๆ ที่เราไม่สามารถจับต้องได้ สามารถติดตั้งและลงโปรแกรมซอฟแวร์ โดยการเก็บข้อมูลไว้บนฮาร์ดดิส (Harddisk) ของคอมพิวเตอร์ ที่เรียกการใช้งานตาม Path ที่เก็บของข้อมูล
(System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ จะใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งหมด แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
Operating System
Source Code
Utility Program
Diagonostic Program
(Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่จัดทำขึ้นจากบริษัทใด บริษัทหนึ่ง ที่ออกแบบและสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญขององค์กรนั้นๆ และใช้งานได้เพียงองค์กรเดียวโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมบัญชี เป็นต้น
4.ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
ข้อมูล (DATA)
คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นกลุ่มสัญลักษณ์ แทนปริมาณหรือการกระทำต่าง ๆ
ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ และท้ายสุดของข้อมูลก็คือ วัตถุดิบของสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูล เป็นตัวเลข ข้อความ เสียงและภาพ เป็นข้อมูล ป้อนเข้า
การประมวลผล เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลจัดกระทำข้อมูล เพื่อให้เหมาะสม ต่อการนำไปใช้
การจัดเก็บ เป็นวิธีการที่จะเก็บข้อมูลให้เป็นระบบที่สะดวกต่อการใช้ และสามารถแก้ไขปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน
เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเก็บข้อมูล การประมวลผลทำให้เกิดผลผลิต ได้แก่ คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป อุปกรณ์การสื่อสาร ฯลฯ
สารสนเทศ ผลผลิตของระบบสารสนเทศจะต้องถูกต้องตรงกับความต้องการใช้ และทันต่อเหตุการณ์ใช้งาน
ข้อมูลที่ผ่านการเปลี่ยนแปลง หรือจัดกระทำเพื่อผลของการ เพิ่มความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้ ลักษณะของสารสนเทศจะเป็นการรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ
อย่างที่เกี่ยวข้องกันเพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ
5.กระบวนการทำงาน ( Procedure )
คือ ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตามเพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่องฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ
ดังนี้
สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
เลือกรายการ
ใส่จำนวนเงินที่ต้องการ
รับเงิน
รับใบบันทึกรายการ และบัตร
จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำงาน
ความหมายของระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง ภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะทำงานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทำงานได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 5 อย่าง