Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
PROM (Premature Rupture of Membranes)
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ ก่อนที่จะมีอาการเจ็บครรภ์จริงและอายุครรภ์เกินกำหนด
complications
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก
abruptio placentae
หลอดเลือดสายสะดือฉีกขาด ทําให้มารดาเสียเลือดในการคลอดมากขึ้น รวมทั้งการเสียเลือดมากขึ้นของทารก ซึ่งส่งผลถึงสัญญาณชีพของทารกได้
preterm labor
ปอดทารกไม่ขยาย มีโอกาสมีปัญหาทางการหายใจ หรือปอดติดเชื้อได้ง่ายภายหลังคลอด
มีโอกาส C/S มากขึ้น
การวินิจฉัย
ซักประวัติเช่น ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลจากช่องคลอด
ตรวจร่างกาย
cough test : positive
LAB
Fern test
Nitrazine paper test
Nile blue test
Indigocarmine
Ultrasonography
การรักษา
อายุครรภ์ครบกําหนด
ประเมินสภาพปากมดลูก
ประเมิน U/C
ประเมิน cord polapse
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ และให้ ATB
อายุครรภ์ไม่ครบกําหนด
มีการติดเชื้อในครรภ์
ตรวจเลือด,ปัสสาวะ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้นอนพักสังเกตอาการ
ให้ATB
ไม่มีการติดเชื้อในครรภ์
nursing diagnosis
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูกเนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตก
1.ดูแลให้นอนพักผ่อนบนเตียง
แนะนําให้ใส่ผ้าอนามัย และดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ สังเกตลักษณะ สี กลิ่น ของน้ำคร่ำ
ติดตามผลการตรวจเลือด CBC และ UA ตามRx.เพื่อประเมินภาวะการติดเชื้อในร่างกาย
หลีกเลี่ยงการPV ถ้าจําเป็นต้องตรวจควรระมัดระวังเกี่ยวกับ sterile techniqe
Early postpartum
hemorrhage
การตกเลือดภายใน 24hrs.แรกหลังคลอด
การเสียเลือดภายหลังทารกคลอด blood loss > 500ml.เมื่อคลอดทางช่องคลอด หรือ blood loss > 1000ml. เมื่อคลอดทางหน้าท้อง หรือ%ของนน.ตัวมารดา
สาเหตุของ Early PPH
Tissue : การเหลือค้างของผลผลิตจากการตั้งครรภ์เช่น รก ,ทารกในครรภ์
Tone : ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Trauma : การบาดเจ็บหรืออันตรายที่เกิดขึ้นกับช่องทางคลอดและอวัยวะสืบพันธุ์
Thrombin : ความผิดปกติของเกร็ดเลือดและระบบการแข็งตัวของเลือด
S&S
bleeding per vargina
2.มีอาการของการเสียเลือด ได้แก่ กระสับกระส่าย ซีด pulseเบาเร็ว hypotension เหงื่อออก ใจสั่น ตัวเย็น กระหายน้ำ ระยะแรกRRจะเร็ว ต่อไปจะช้าลง มีอาการหนาว ถ้าอาการรุนแรงอาจช็อก และเสียชีวิต
การพยาบาล
record v/s
ประเมินสาเหตุของการตกเลือด เช่น bleeding per vargina ลักษณะและจํานวน ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Hematomaที่ฝีเย็บ
คลึงมดลูก และกดไล่ก้อนเลือดที่อาจค้างอยู่ในมดลูก
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ หรือสวนให้ตามความจําเป็น
5.ให้สารน้ำและยาทางหลอดเลือดดําตามRx.
6.เจาะHct เพื่อประเมินภาวะซีด
7.ดูแลให้ได้PRC2ยูนิต ทางหลอดเลือดดําตามRx.
8.สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการผิดปกติเช่น หน้ามืด
ใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น ซีด External และ Internal bleeding
กระตุ้น breast feeding
แนวทางการรักษา
รกฝังตัวแน่นผิดปกติ หรือ รกค้าง
ล้วงรก
ให้เลือดทดแทนอย่างทันท่วงที
ร่วมกับการตัดมดลูกอย่างรวดเร็ว
ก้อนเลือดขังในช่องคลอด
กรีดช่องคลอดแล้วควักเอาเลือดและก้อนเลือดออก
เศษรกตกค้าง
ขจัดเศษเนื้อเยื่อรก อาจจะใช้นิ้วมือ หรือ
เครื่องมือขูดมดลูกขนาดใหญ่เพื่อลดโอกาสมดลูกทะลุ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ทำการเย็บซ่อมแซม
Uterine atony
คลึงมดลูก
สวนปัสสาวะ
ให้ยากระตุ้น
sulprostone (Nalador)
methylergonovine (Methergin)
Oxytocin
misoprostol (Cytotec)
Carbectocin (Duratocin)
Bimanual uterine compression
ผ่าตัดมดลูก
การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด (โดยการทํา Active management of the Third Stage of Labor )
ให้oxytocin หลังทารกคลอดไหล่หน้า ถ้ามั่นใจว่ามีทารกคนเดียว ให้ฉีด oxytocin 10unit IM บรเิวณแขนหรือหน้าขา
รอ 1-3minแล้วใช้clamp หนีบสายสะดือ แล้วตัดสายสะดือ (กรณีทํารกต้องการการช่วยเหลือเร่งด่วนไม่ต้องรอ ให้หนีบและตัดสายสะดือได้เลย)
ทําคลอดรกโดยวิธี controlled cord traction
Prolonged/Obstructed labor
สาเหตุ
สุขภาพจิตของผู้คลอด
แรงบีบตัวของมดลูก
ช่องทางคลอดที่ผิดปกติ
ตัวทารก น้ำคร่ำ และรกที่ผิดปกติ
ภาวะสุขภาพร่างกายของผู้คลอด
ท่าของผู้คลอด
ประเภท
จากปากมดลูกเปิดขยายช้ากวา่ปกติหรอืส่วนนําเคลื่อนต่ำลงช้ากว่าปกติในระยะ active phase
Protracted active phase
Protracted descent
Prolong deceleration phase
Secondary arrest of dilatation
ระยะที่ 2 ของการคลอด
Arrest of descent
Failure of descent
ในระยะ latent phase
latent phase ยาวนานกวา่ 20hrs.ในครรภ์แรกและนานกว่า14hrs.ในครรภ์หลัง
complications
ต่อมารดา
ช่องทางคลอดฉีกขาด ผู้คลอดเสียเลือดมาก
เสี่ยงต่อการติดเชื้อแผลที่ช่องคลอดมาก
Disseminated intravascular coagulopathy
เสี่ยงต่อการได้รับการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
เสี่ยงต่อการ C/S
เสี่ยงต่อ PPH
เสี่ยงต่อ uterine rupture
ต่อทารก
ทารกมีโอกาสเสียชีวิตได้
ร่างกายทารกชอกช่ำจากการคลอดยาก
Shoulder dystocia อาจเกิด Brachial plexus injury
เกิดความพิการทางสมองของทารก
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูกให้เป็นไปตามการหดรัดตัวในภาวะปกติ
ประเมินช่องทางคลอดร่วมกับการประเมินระดับส่วนนำของทารกและระดับของทารก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวถี่และแรงเกินไป ถ้าให้Oxytocinเร่งการคลอด ควรลดจํานวนหยดลง โดยดูผลของFHSร่วมด้วย
ควรกระตุ้นให้ขับถ่ายและควรสวนทิ้งถ้าปัสสาวะเองไม่ได้
ให้ยาลดความเจ็บปวดตามRx
ดูแลสารน้ำสารอาหารให้ผู้คลอดได้รับอย่างเพียงพอ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด q 4hrs.
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ q 30min-1hr
ให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อปากมดลูกเปิดหมด
ระยะหลังคลอด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะและบรเิวณแผลฝีเย็บ
ดูการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้คลอด
ให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน
ภาวะช็อกทางสูติศาสตร์
warning sign
มารดา
v/s เปลี่ยนแปลง เร็ว สูงขึ้น/ลดลง pulseเบาเร็ว
ตัวเย็น อาจพบเลือดออกมาให้เห็นทางช่องคลอดหรือไม่พบ แล้วแต่ชนิดshock
ทารก
FHS >160bpm sinv <100bpm HRสม่ำเสมอ ฟังชัดเจน HRถ้า<100bpm ทารกอาจขาดoxygen
มารดารู้สึกว่าทารกดิ้นช้าลง/ไม่ดิ้น
S&S
มีภาวะ Respiratory alkalosis ร่วมด้วย สับสน ซึม pulseเบาเร็ว
Hypotension (diastolicลดลงมากกว่า40mmHg)
Endometritis พบบ่อยที่สุด
Urinary tract infection
แท้งติดเชิ้อ
Chorioamnionitis
การรักษา
ATB
ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
observe v/s , I/O
ได้รับ oxygen
การกําจัดแหล่งติดเชื้อ เช่น ระบายหนอง
การพยาบาล
ประเมินS&Sของภาวะช็อคโดยเร็ว
ให้การพยาบาลอย่างเหมาะสม
ดูแลอย่างต่อเนื่องในระยะที่ร่างกายมีกลไกการชดเชย (Compensatory)
ประเมินภาวะเสี่ยง
ส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด เช่น จัดท่า ดูแลการได้รับสารน้ำ
ประเมินและติดตามอาการเปลี่ยนแปลง ดูแลการได้รับยาตามRx. อธิบายอาการ แผนการรักษาและการปฏิบัติตัว
ป้องกันทารกขาด O2
จัดท่ามารดานอนตะแคงซ้าย ลดการกดทับ Inferior Venacava เพิ่มการไหลเวียนเลือดจากมารดาสู่ทารก