Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด, นงสาวศศิธร แก่นจันทร์…
การดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด (Postpartum infection)
ความหมาย
การอักเสบติดเชื้อ ภายหลังจากการคลอดทางช่องคลอด หรือการผ่าตัดคลอด
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution of Uterus)
สาเหตุ
ทารกไม่ได้ดูดนมแม่
มีการติดเชื้อของมดลูก
การผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
ภาวะต่างๆ ที่ทำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
อาการและอาการแสดง
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง
ปวดมดลูกและมีไข้
น้ำคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
เหนื่อยอ่อนเพลีย
น้ำคาวปลาไม่จางลง
การรักษา
ให้ยา Oxytocin
Dilatation and Curettage
Antibiotic in endometritis
การพยาบาล
Early ambulation postpartum
ติดตาม vital signs
ประเมิน daily HF, lochia, อาการปวดมดลูก
เยื่อบุมดลูกอักเสบ (Endometritis)
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาไม่เปลี่ยนสี จะมีสีน้ำตาลแดง
มดลูกมีขนาดใหญ่คลำได้ทางหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม กดเจ็บ
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
หลังคลอดมีไข้ ไม่เกิน 38.8องศาเซลเซียส
ชีพจร 90-120 ครั้งต่อนาที
WBC > 20,000/mm3 และมีการเพิ่มขึ้นของ neutrophil
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การให้ยาปฏิชีวนะ
อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Parametritis)
อาการและอาการแสดง
มดลูกโตขึ้น กดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือสองข้าง
ตำแหน่งมดลูกจะ fix จากหนองที่เกิดขึ้นตาม round ligament
ไข้ 38.9-40 องศาเซลเซียส ร่วมกับ tachycardia
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การให้ยาปฏิชีวนะ
มีฝีหรือหนองต้องระบายออก
ความหมาย
ติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือมดลูก ลามไปทางหลอดน้ำเหลือง ทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
ความหมาย
เชื้อเข้าทางช่องคลอดผ่านปากมดลูก เข้ามดลูก ปีกมดลูกกระจายเข้าเยื่อบุช่องท้อง
อาการและอาการแสดง
ท้องอืดหรือแน่นท้อง
ไข้
ปวดท้องหรือสัมผัสท้องแล้วปวด
คลื่นไส้และอาเจียน
เบื่ออาหาร
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมทั้ง aerobes และ anaerobes
ถ้าเป็นรุนแรงจากแผลมดลูกเน่าและแยก หรือมีการแตกทะลุของลำไส้ จะต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วน
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
Episiotomy infection
การรักษา
การดูแลแผลให้ sitz bath บ่อยๆทุกวัน
ให้ยาแก้ปวด
ขจัดเนื้อตายและเปิดระบายหนองร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
อาการและอาการแสดง
ปวดเฉพาะที่ที่แผล ปัสสาวะลำบาก อาจมีปัสสาวะคั่ง ไข้ต่ำๆ
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบในอุงเชิงกราน (Pelvic Thrombophlebitis)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและปวดบริเวณสีข้าง
ตรวจพบก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
ปวดบริเวณที่มีการอักเสบในวันที่สองหรือสามหลังคลอด
มีไข้
ผลตรวจ CT หรือ MRI
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ Heparin ร่วมด้วยเชื่อว่าอาจทำให้ไข้ลดลงช้าลง
การติดเชื้อที่แผลแผลผ่าตัด
(Abdominal incisional infections)
อาการและอาการแสดง
ไข้ตั้งแต่ 4 วันหลังผ่าตัด บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการผ่าตัดระบายหนอง
ทำแผลแบบเปียก (wet dressing) 2 ครั้งต่อวัน
เริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ 4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผลด้วยไหม
เต้านมอักเสบ (Breast Abscess)
สาเหตุ
การติดเชื้อ Staphylococcus Aureus
หัวนมแตก ถลอกหรือมีรอยแตก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาแก้ปวด
เพาะเชื้อน้ำนมข้างที่มีการอักเสบ
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีอาการปวดมาก
การเจาะระบายหนอง นิยมวิธีใช้เข็มเจาะดูด
อาการและอาการแสดง
ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน
มีไข้
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ (Hematoma)
อาการและอาการแสดง
รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่งชัดเจน
มีปัญหาปัสสาวะ หรือ อุจจาระลำบาก
การรักษา
รักษาตามอาการและใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ
ใส่สายสวนปัสสาวะไว้ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้
ผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออก
สาเหตุ
การแตกของ เส้นเลือดดำขอด
การแตกของหลอดเลือด
โป่งพอง (aneurysm)
การเย็บไม่ถึงก้นแผล
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน ฃมีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
การรักษา
การบำบัดด้วยยา ในกลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitor
เข้ากลุ่มจิตบำบัด
การพยาบาล
ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา
ควรแนะนำสามี และญาติให้กำลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือ
อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายและความแปรปรวนของอารมณ์
เพิ่มความสังเกต ดูแลอย่าง
ใกล้ชิด ในรายที่มีอาการรุนแรง
การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน วิตกกังวลอย่างมาก
สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่ำครวญ
การรักษา
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
ให้ยากลุ่มยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug) ยาลด
ภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
ป้องกันการทำร้ายตนเอง
รับรักษาในโรงพยาบาล และงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้น
บริเวณที่มารดาพัก
ดูแลให้ได้รับยา
นงสาวศศิธร แก่นจันทร์ รหัสนักศึกษา 602701089