Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท - Coggle Diagram
ระบบประสาท
:red_flag: โรคสมองพิการ (Cerebral Palsy) :star:
อาการ
ลักษณะอ่อนปวกเปียก หายใจช้า พัฒนาการช้า รีเฟล็กซ์ผิดปกติ การเคลื่อนไหวกับสมดุลของร่างกายมีความผิดปกติถ้าสมองส่วนที่เสียนั้นควบคุมการทรงตัว ภาวะปัญญาอ่อน พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
ให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญและแก้ไขระบบประสาทส่วนอื่น
ทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อ
ให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะ
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน
ได้รับอันตรายจากการคลอด คลอดยาก รกพันคอ คลอดท่าก้น การใช้คีมดึงเด็ก
ระยะคลอด
การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด
เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ
การขาดออกซิเจนจากการจมน้ำ
การติดเชื้อบริเวณสมอง
การได้รับสารพิษ
ระยะก่อนคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที่6-9
มารดาขณะตั้งครรภ์ขาดสารอาหาร
มารดามีภาวะชัก/มีภาวะปัญญาอ่อน
การเกิดก่อนกำหนด การเกิดน้ำหนักตัวน้อย มารดาขณะตั้งครรภ์มีการใช้ยาบางชนิด
การพยาบาล
เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการ
รับประทานอาหาร
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว เกิดขึ้นก่อนอายุ 8 ปี มักมีปัญหา
การเคลื่อนไหวอวัยวะที่ใช้ในการหายใจและการพูด
:red_flag: Guillain Barre ‘s Syndrome :star:
การรักษา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG)
การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา (Plasma Exchange/ Plasmapheresis)
รักษาภายใน2-4 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการครั้งแรกจะสามารถช่วยชีวิตได้เร็วขึ้น
อาการและอาการแสดง
Sensation เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวด
motor กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Flaccid motor paralysis)
อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้า (Facaial nerve) มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การพยาบาล
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส สภาวะของmotor sensory และ cranial nerve
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
ให้ออกซิเจน/ใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วย
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
Check vital sign โดยเฉพาะ RR
ประคับประคองด้านจิตใจ
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ มีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อ Myelin sheath ของเส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนที่เป็น spinal nerve roots ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถติดต่อสั่งงานมายังกล้ามเนื้อได้ตามปกติ
เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน (Polyradiculoneuropathy) ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
:red_flag: Hydrocephalus :star:
การวินิจฉัย
Transillumination test
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
ปัญหาแทรกซ้อนจากการใส่ Shunt
Obstruction
Infection
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
เนื่องจากการสำรอกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
การพยาบาลหลังผ่าตัด
การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป (เน้นนอนราบหลังผ่าตัด ใน 24 ชม.แรก
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง (Diamox)
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
อาการ
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง (setting-sun sign)
ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน (diplopia)
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง signs of increase intracranial pressure)
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ (hyperactive reflex)
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก (macewensige Cracked pot sound)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้าหรือศีรษะโป่งตึงเห็นชัดมากกว่าปกติ(enlargement & engorgement of scalp vein)
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ (delay developement)
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ (fontanelle bulging )
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติหรือปัญญาอ่อน
ศีรษะโต/ หัวบาตร (cranium enlargement)
สาเหตุ
:
Obstruction of the flow of CSF: การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำ
หล่อสมองและไขสันหลัง
Defective absorption of CSF:ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำ
ไขสันหลัง
Overproduction of CSF: การสร้างหรือการผลิตน้ำ
ไขสันหลังมากผิดปกติ
ภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณ ventricle ของสมองและsubarachnoid space มากกว่าปกติน้ำ ทำให้เกิดความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่ม
:red_flag: Down ’s syndrome :star:
เป็นความผิดปกติโครโมโซมคู่ที่ 21 โอกาสเสี่ยงจะสูงขึ้นถ้ามารดามีอายุมากกว่า 30 ปี
อาการและอาการแสดง
หูอยู่ต่ำ
brush field spot
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอมากและนิ่ม
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก มีรอยแตกที่ลิ้น
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
Polycythemia
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
Hypothyroidism
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา หู อวัยวะเพศ
ทางเดินอาหารอุดตัน ที่พบบ่อยคือ duodenum stenosis
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตาม
วัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
:red_flag: Spina bifida :star:
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotien ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
:red_flag: โรคไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis (JE) :star:
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะมากขึ้น อาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
เกร็งชักกระตุก หายใจไม่สม่ำเสมอ
รายที่รุนแรงมากเสียชีวิตวันที่7-9 ของโรค พ้นระยะนี้จะเข้าสู่ระยะฟื้นตัว และเหลือความพิการ
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัสJE จากเลือด/น้ำไขสันหลัง
ตรวจหาIgM antibody เฉพาะต่อไวรัสJEในเลือดและน้ำไขสันหลัง
การรักษา
ดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit
ให้ยาลดไข้ ลดการบวมของสมอง ระงับชัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยดูดเสมหะบ่อยๆ ถ้ามีเสมหะมากอาจต้องทำtracheostomy บางครั้งต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
ไม่เลี้ยงหมูใกล้ที่อยู่อาศัย
ฉีดวัคซีน
เลี่ยงไม่ให้ยุงกัด(เวลาพลบค่ำ)
:red_flag: โรคลมชัก :star:
ลักษณะอาการชักมี2ชนิด
1.Partial seizure: ชักกระตุกเฉพาะที่
2.Generalized seizure
Primary generalized epilepsy: ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy: มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุ
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
พันธุกรรม
รอยโรคในสมอง
ได้รับอันตรายจากการคลอด
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
ใช้ยาระงับชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุ
อาหาร Ketogenic diet
ฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำ
ทานยาต่อเนื่องทุกวันอย่างน้อย2ปี ห้ามหยุดยาเอง แนะนำการป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตามนัดเพื่อประเมินอาการ และปรับขนาดยากันชัก
:red_flag: ชักจากไข้สูง :star:
ชนิดของการชัก
Primary febrile convulsion: ไม่มีความผิดปกติทางสมอง
Secondary febrile convulsion: มีความผิดปกติทางสมอง
การรักษา
ระยะกำลังชัก
ชักเกิน5นาทีต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับชักทางหลอดเลือดดำ/ทวารหนัก
ให้ยาลดไข่ร่วมกับเช็ดตัวลดไข้
ขณะชักห้ามให้ยารับประทาน
ระยะหลังชัก
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ให้ยาป้องกันชักทานทุกวัน1-2ปี
:red_flag: หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก :star:
ดูแล NPO ขณะชัก
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ข้างเตียง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูแลให้ได้รับออกซฺเจน
เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา
นอนราบ ตะแคงด้านใดด้านหนึ่ง ไม่ผูกรัดขณะชัก
ให้ยากันชัก ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาระงับชักตามแผนการรักษา
ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้ง จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ อากาศถ่ายเท
สังเกตและบันทึกลักษณธการชัก ระดับความรู้สึกตัวขณะชัก
วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก4ชม.
การให้คำแนะนำ
แนะนำการปฏิบัติเมื่อมีไข้
แนะนำการปฏฺบัติเมื่อชัก
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
แนะนำดูแลการให้ยากันชัก และผลข้างเคียง
:red_flag: ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง
/เนื้อสมอง :star:
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
Cerebrospinal fluid test
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Pressure เด็กโต = 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Protein 14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
3 more items...
อาการแสดงว่ามีการติดเชื้อ
การรักษา
รักษาตามอาการ
การป้องกัน: ฉีดวัคซีน
รักษาเฉพาะ: ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลัง
สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
เชื้อแบคทีเรีย
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
เชื้อไวรัส
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชม.
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน เจาะคอ ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ให้ยาระงับชัก ลดการบวมของสมอง นอนหลับ ให้สารน้ำ
รักษาสมดุลน้ำเข้า-ออก