Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
Birth Injury
Skull injuries
Caput succedaneum
อาการและอาการแสดง
พบได้ด้านข้างของศีรษะ
ก้อนโนนี้จะมีความกว้างและ
มีขนาดโตประมาณไข่ห่าน
ท าให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
การรักษา
หายไปได้เอง ประมาณ 2 -3 วันหลังคลอด
ถ้าเกิดจาก V/E จะหายได้ช้ากว่า
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาดของก้อน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการ
Cephalhematoma
อาการและอาการแสดง
อาการจะชัดเจนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
พบวา่ก้อนโนเลือดมีสีผิดปกต
ทารกมีภาวะซีดได้จากการสูญเสียเลือดมาก
การรักษา
หายไปเองภายใน 2 เดือน
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองต้องได้รับการส่องไฟ
ก้อนเลือดขนาดใหญ่ควรดูดออก
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาดของก้อนเลือด
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
สังเกตอาการซีด เจาะ Hct และให้เลือด
ตรวจ MB
แนะนำไม่ใช้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
Subgaleal hematoma
อาการและอาการแสดง
ขอบเขตเริ่มจากหน้าไปที่ขอบเบ้าตา ไปยังท้ายทอยและด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
ก้อนมีลักษณะน่วม
Intracranial hemorrhage
อาการและอาการแสดง
Reflex ลดน้อยลงหรือไม่มี
มีอาการอ่อนแรง
มีภาวะซีด
ซึม ดูดนมไม่ดี
ร้องเสียงแหลม
การรักษา
เจาะน้ำไขสันหลัง
ให้ความอบอุ่น
ให้ได้รับยาระงับการชักและให้วิตามินเค
ให้ออกซิเจน
ให้ได้รับนมและน ้าอย่างเพียงพอ
Bone injuries
Fracture humurus
อาการและอาการแสดง
ได้ยินเสียง
กระดูกหักขณะคลอด
บวมไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
การรักษา
กระดูกหักสมบูรณ์ : จับแขนตรึงกับ
ผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา
กระดูกแขนเดาะ : ตรึงแขนให้เแนบการลำตัว 1-2 wk
Fracture femur
อาการและอาการแสดง
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
อาการบวม
การรักษา
ถ้ากระดูกไม่หักแยกจากกัน (incomplete) รักษาโดย
การใส่เฝือกขายาว
ถ้ากระดูกหักแยกจากกัน (complete) รักษาโดยการห้อยขาไว้กับปลายเตียง ให้ขาเหยียดตรง
Fracture clavicle
อาการและอาการแสดง
เคลื่อนไหวน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
หงุดหงิด ร้องไห้
อาการบวมห้อเลือด
การรักษา
หายได้เอง
การกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อ
ประมาณ 10 – 14 วัน
Nerve injury
Facial nerve injury
อาการและอาการแสดง
อัมพาตชั่วคราว มักเป็นข้างเดียว
หน้าเบี้ยวไปข้างที่ดี
รูปหน้าทั้ง 2 ไม่เท่ากัน
ลืมจาได้ด้านเดียว
มุกริมฝีปากล่างตก
การรักษา
หายไปได้เอง 2-3 วัน
ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ล้างตา หยอดตา
ดูแลให้ได้รับนมให้เพียงพอ
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
Brachial
Erb-Duchenne paralysis
กำมือได้ตามปกต
Klumpke’ s paralysis
กำมือไม่ได้
การรักษา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว
ทำกายภาพบำบัด
ทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
Birth Asphyxia
ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด
ปรับตัวโดยการหายใจเร็วขึ้น
การให้ออกซิเจนแก่ทารก ทำให้กลับมาหายใจได้เอง
ถ้ายังขาดออกซิเจนต่อไปทารกจะหายใจช้าลงและเข้าสู่ภาวะหยุดหายใจ
ใช้เครื่องข่วยหายใจ
อาการและอาการแสดง
มีลักษณะเขียว
แรกคลอด ไม่หายใจ
ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก
reflex ลดลง
การประเมิน APGAR score
No asphyxia (APGAR score 8-10)
เช็ดตัวทารกให้แห้งห่อผ้าให้
ความอบอุ่น
clear airway
Mild asphyxia (APGAR score 5-7)
เช็ดตัวทารกให้แห้ง
clear airway
กระตุ้นการหายใจด้วย
ออกซิเจน mask with bag 5 LPM
Moderate asphyxia (APGAR score 3-4)
clear airway
ใช้ bag และ mask ให้ออกซิเจนร้อยละ 100
ใส่ท่อ endotracheal tube และนวดหัวใจ
Severe asphyxia (APGAR score 0-2)
clear airway
ใส่ endotracheal tubeและช่วยหายใจด้วย
bag ใช้ออกซิเจนร้อยละ 100 พร้อมกับนวดหัวใจ
ใส่umbilical venous catheter เพื่อให้ยาช่วยฟื้นคืนชีพและสารน้ำ
การกู้ชีพ
การช่วยการหายใจ (Artificial Ventilation)
ความดันบวก (PPV)
การใส่ท่อหลอดลมคอ
endotracheal tube
การนวดหัวใจ
การให้ยา epinephrine
Meconium Aspiration syndrome
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย เป็นเวลา 2- 3 วัน
ปลายมือปลายเท้าและรอบปากเขียว
หน้าอกโป่ ง เวลาหายใจเข้าออกหน้าอกจะบุ๋ม
ฟังปอดพบเสียง rales และ rhonchi
สายสะดือมีสีเหลือง
การรักษา
ดูดน้ำคร่ำและขี้เทาให้มากที่สุด
HR < 100 ครั้งต่อนาที พิจารณาใส่ETT
ใส่สายยางดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหาร
งดอาหารและน้ำทางปาก
ตรวจ arterial blood gas
การพยาบาล
นอนตะแคงศีรษะต่ำ
ให้ลูกสูบยางแดงหรือสาย suction ขนาดเล็ก ดูดขี้เทา
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจน
รักษาร่างกายทารกให้อบอุ่น