Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาวปิยวดี ปานดวง…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
โรคไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis(JE)
การรักษา
ให้ยาลดไข้ ลดการบวมสมอง
ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
บางรายต้องช่วยหายใจ
การป้องกัน
ไม่ควรเลี้ยงหมูใกล้ๆบ้าน
ฉีดวัคซีนให้ครบ3ครั้ง แรก อายุ1/2ปี สอง ห่างจากครั้งแรก 2-4week สามหลังจากสอง 1ปี
หลีกเลี่ยงไม่ให้ยุงกัด
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจหา IgM antibody #ไวรัส
ตรวจแยกโรค JEจากเลือดและน้ำไขสันหลัง
การพยาบาล
ให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ดูแลการได้รับออกซิเจน
เช็ดตัวลดไข้เมื่อมีไข้สูง
ไม่ผูกรัดร่างกายเมื่อชักจะทำให้กระดูกหักได้
สังเกตv/s
ให้นอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างหนึ่งเพื่อป้องกันการสำลักน้ำลาย
อาการ
อาจเสียชีวิตได้ภายใน 7-9วัน
มีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
หายใจไม่สม่ำเสมอ
ปวดศีรษะมาก อาเจียน ง่วงไม่รู้ตัว
ชักเกร็ง กระตุก
Encephalitis
อาการ
ปวดคอ คอแข็ง
ไข้สูง ปวดศีรษะ
ชัก มีอาการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ซึมลงและอาจโคม่าใน24-72 hr.
เพ้อ อาละวาดอยู่ไม่นิ่ง หายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจนเจาะคอหรือเครื่องช่วยหายใจ
ให้ยาระงะบชัก ลดบวมของสมอง ให้สารน้ำ
บันทึก I/O
สาเหตุ
เชื้อรา
ปรสิต
ไวรัส
แบคทีเรีย
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
Menigitis
อาการแสดงเมื่อระคายเคืองเยี่อหุ้มสมอง
คอแข็ง Stiffness of neck
Kerning' sign = +
ฺBrudzinski's sign = +
การรักษา
อาจเจาะคอเพื่อช่วยหายใจในรายที่หมดสติ
ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับเชื้อ
ฉีดวัคซีนป้องกัน Hib JE BCG
รักษาตามอาการ ไข้ ชัก อาการบวมของสมอง
ให้สารน้ำ
อาการ
อาการติดเชื้อ มีไข้
ปวดศีรษะ ซึม กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจน้ำไขสันหลัง
WBC ไม่พบ
Glucose 50-75mg/dl
RBC ไม่พบ
Protein 14-45 mg/dl
พบความดัน
ทารก = 110 mmH2o
เด็กโต=110-150mmH2o
สาเหตุ
พยาธิ
เชื้อรา
ไวรัส
แบคทีเรีย
Down’s syndrome
เสี่ยงในมารดาอายุสูงกว่า 35 ปี
บิดามารดามีโครโมโซมที่ผิดปกติ
พบ 1:1000
อาการ
ทางเดินอาหารอุดตัน
พัฒนาการทางเพศช้า
มือกว้างสั้น นิ้วก้อยโค้งงอ
ติดเชื้อทางระบบหายใจง่าย
Brush field spot
ปากอ้า ลิ้นมักยื่นออกมาและมีรอยแตก
คอสั้น ผิวหนังหลังคอมาก
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หูติดอยู่ต่ำ หัวแบนกว้าง
ผิดปกติโครโมโซมคู่ที่21
การรักษา
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
กระตุ้นให้ส่งเสริมพัฒนาการด้วยตนเอง
รักษาโรคอื่นๆร่วมด้วย เช่น ทางเดินอาหารอุดกั้น
Spina bifida
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติที่บริเวณหลังส่วนกลาง
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ตรวจแลปพบAlphafetoprotein ในน้ำคร่ำสูง
การรักษา
ผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
ชนิด
Meningocele
Muelomeningeocele
Spina bifida occulta
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากปัสสาวะคั่ง
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยาantibioticตามแผนการรักษา
ทำ Crede's manuever q 2-4hr.
กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
สังเกตอาการแขนขาอ่อนแรง
สอนผู้ปกครองให้กระตุ้นการเคลื่อนไหวของเด็ก
ทำpassive exercise
อาจเกิดการติดเชื้อจากถุงน้ำแตก
ตรวจสอบการฉักขาดของแผลและประเมินการติดเชื้อ
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้นไม่ให้เกิดแผล
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำ ไม่นุ่งผ้าอ้อม
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการเปื้อนอุจจาระ
ดูแลความสะอาด
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำไม่นุ่งผ้าอ้อม
ภาวะน้ำคั่งในสมอง Hydrocephalus
การวินิจฉัย
Ventriculagraphy
Head circumference
CT scan
Transillumination test ตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
U/S
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากกว่าปกติ
การอุดกลั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
of CSF
Obstruction of the flow
Defective absorption
Overproduction
การรักษา
ให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
Ventriculo-peritoneal shunt (V-P Shunt)
ผ่าตัดเปลี่ยนน้ำไขสันหลัง Shunt
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
ภาวะอุดกลั้น
ติดเชื้อ
ผ่าตัดตามสาเหตุอาการ
ภาวะที่มีการคั่งของน้ำในกระโหลกศีรษะบริเวณventicleของสมองและSubarachnoid space มากกว่าน้ำปกติในไขสันหลัง
การพยาบาล
ป้องกันแผลกดทับบริเวณศีณษะ
ดูแลความดันในกระโหลกศีรษะให้เป็นปกติ
ป้องกันการติดเชื้อหลังผ่าตัด
ดูแลการให้ได้รับนมครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้งป้องกันการสำลัก
น้ำที่คั่งมากทำให้ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
อาการ
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
หนังศีรษะบางและเห็นหลอดเลือดดำที่ใบหน้า
ตาสองข้างกรอกลงล่าง ตาพร่ามัวเห็นภาพซ้อน
เด็กเล็กกระหม่อมหน้าโปร่งตึงกว่าปกติ
reflexขาทั้ง2ข้างไวกว่าปกติ
ศีรษะโต หัวบาตร
พัฒนาการช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ชัก
ชักจากไข้สูง Febrile convulsion
แบ่งได้ 2 ชนิด
1.Primary Febrile convulsion ไม่มีความผิดปกติของสมอง
2.Secondary Febrile convulsion มีความผิดปกติของสมอง
การรักษา
ขณะกำลังชัก
1.ชักเกิน 5min ทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับการชักdiazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทวารหนัก #ขณะชักห้ามให้ยากิน
2.ให้ยาลดไข้ ร่วมกับเช็ดตัวลดไข้
หลังชัก
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยละเอียด
2.ให้ยาป้องกันการชักทานทุกวันนาน 1-2ปี เช่นPhenobarbital Depakine
โรคลมชัก Epilepsy
สาเหตุ
โรคติดเชื้อของสมอง
Metabolic และ Toxic etiologies
ได้รับอันตรายจากการคลอด
รอยโรคในสมอง ที่ทำให้เซลล์ประสาท
พันธุกรรม
การรักษา
ฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
ให้ยาระงับอาการชักและป้องกันการเป็นซ้ำ
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet กินไขมันสูง คาร์โบต่ำ โปรตีนต่ำ
ลักษณะอาการ
1.partial seizure ชักกระชุกเฉพาะที่
2.Generalized seizure
Primary Generalized seizure ไม่มีความผิดปกติกับระบบประสาท
Secondary Generalized seizure มีความผิดปกติกับระบบประสาท
คำแนะนำ
มาตรวจตามแพทย์นัด
ให้ทานยาติดต่อกันทุกวันอย่างน้อย2ปีห้ามหยุดยาเอง
โรคสมองพิการ Cerebral Palsy
อาการ
สูญเสียการควบคุม พูดไม่ชัด
อ่อนปวกเปียก หายใจช้า พัฒนาการช้า
การรักษา
Early stimulation
แก้ไขความผิดปกติของระบบประสาท
ทำกายภาพแขนขา
ให้ยา Diazapam baclofen เพื่อคลายกล้ามเนื้อ
แนะนำให้ผู้ปกครองดูแลอย่างใกล้ชิดและส่งเสริมให้เด็กทำสิ่งต่างๆเอง
สาเหตุ
ระยะคลอด
ร้อยละ30จะเกิดในระยะนี้
ได้รับอันตรายจากการคลอด รกพันคอ ใช้ครีมดึง คลอดเท่ากัน
สมองขาดออกศซิเจน
ระยะหลังคลอด
เส้นเลือดสมองผิดปกติ
จมน้ำขาดออกซิเจนติดเชื้องที่สมอง
ได้รับสารพิษ
เกิดร้อยละ5ของโรค
ได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
ระยะก่อนคลอด
มารดามีประวัติชักหรือปัญญาอ่อน
มีเลือดออกทางช่องคลอดระหว่างตั้งครรภ์เดือรชนที่6-9
ขาดสารอาหาร
นางสาวปิยวดี ปานดวง รุ่น36/1เลขที่70 รหัส612001071