Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ระบบประสาทอัติโนมัติ
ยาต้านมัสคารินิค
(Antimuscarinic Drugs)
มีผลต่อ nicotinic เล็กน้อย
ออกฤทธิ์ปิดกั้นที่ Muscarinic receptors
กลไกการออกฤทธิ์
แย่งที่กับ Ach ในการจับ Muscarinic receptors
ลด parasympathetic tone
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา
ไม่สามารถหดตัวได้
ม่านตาขยาย
ไม่สามารถควบคุมเลนส์มองภาพได้ชัดเจน
ระบบทางเดินอาหาร
ลดความแรง ลดการขับเคลื่อนกระเพาะอาหารและลำไส้
ระบบทางเดินหายใจ
ขยายหลอดลม
ยับยั้งสารคัดหลั่ง
จมูก ปาก คอ และหลอดลม
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและแรงบีบตัวท่อปัสสาวะ
ต่อมเหงื่อ
ขับเหงื่อได้น้อยลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
หลอดเลือดขยายตัว
การนำไปใช้คลินิก
Antispasmodics
ยาลดการหดเกร็ง
รักษากระเพาะปัสสาวะบีบตัว
ใช้ทางจักษุแพทย์
บรรเทาอาการไซนัสหรือแพ้ละอองเกสร
ใช้เป็นยาเตรียมก่อนผ่าตัด
รักษาโรคพาร์กินสัน
รักษาภาวะล้มเหลวระบบไหลเวียนโลหิต
รักษาอาการเมารถ
ยาต้านพิษ
อาการข้างเคียง
ปากแห้ง คอแห้ง
ตาพร่ามัว ใจสั่น
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์
(Adrenoceptor blocking drugs)
เรียกว่า Adrenergic blocker หรือยา symoatholytic
ออกฤทธิ์ปิดกั้น adrenergic receptor
แบ่งเป็น
α-adrenergic antagonists
ยาที่ใช้ในปัจจุบันคือ selective α1-antagonist
ออกฤทธิ์จำเพาะ α1-receptor
กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
ลดความต้านทานหลอดเลือดแดง
ผนังหลอดเลือดขยาย
ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง
อาการข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ
β-adrenergic antagonists
จำเพาะต่อ receptor subtype
กระตุ้นสร้าง nitric oxide (NO)
ออกฤทธิ์ไม่ได้
Non-selective β-blocker
propranolol
ยับยั้ง β1 และ β2 receptor
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง
ลดอาการสั่น
ลดอาการตื่นเต้น
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Timolol
Sotalol
Selective β-blocker
Metoprolol และ Atenolol
รักษาโรคความดันโลหิตสูง
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นช้า
หลอดลมตีบแคบ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ปวดศรีษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การทำงาน
ระบบซิมพาเทติค
(Sympathetic nervous system)
สามารถต่อสู้หรือถอยหนี
เพิ่มการใช้พลังงาน ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
เพิ่ม cardiac output หลอดลมขยาย
การทำงานระบบทางเดินอาหารลดลง
สารสื่อประสาท
เรียกว่า Adrenergic agents
ได้แก่
Noradrenaline (NE)
ตัวรับเฉพาะเรียกว่า
Adrenergic receptor
Alpha (α)
Beta (β)
ประเภท
α1 พบกล้ามเนื้อเรียบ
หลอดเลือด
ทางเดินปัสสาวะ
มดลูดตอบสนองแบบหดตัว
α2 พบปลายประสาทซิมพาเทติค
β1 พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้น
β2 พบกล้ามเนื้อเรียบ
หลอดเลือด
หลอดลม
ทางเดินปัสสาวะ
มดลูกเมื่อคลายตัว
β3 พบที่เซลล์ไขมัน
ระบบพาราซิมพาเทติค
(Parasympathetic nervous system)
การชะลอหรือห้ามระบบ
เพื่อพักผ่อนหรือย่อยอาหาร
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดลมตีบแคบลง
กระเพาะอาหารและกระเพาะปัสสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลั่งกรดและน้ำย่อย
สารสื่อประสาท
เรียกว่า
Cholinergic agents
ได้แก่
Acetylcholine (ACh)
ตัวจับเฉพาะ
Cholinergic receptor
Muscarinic (M)
Nicotinic receptors (N)
ประภท
Nicotinic receptor
พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
M1 พบที่สมอง
M2 พบที่หัวใจ
M3 พบตามต่อมมีท่อต่างๆ
M4 พบที่ระบบประสาท
M5 พบที่ Dopamine neuron
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
(Adrenergic drugs)
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Directly avting drugs
Indirectly acting drugs
mixed-acting drugs
ยากลุ่ม Sympayhomimetics
กลุ่ม catecholamines
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดหดตัว
กล้ามเนื้อลายหลอดเลือดขยาย
กระตุ้นการเต้นกล้ามเนื้อหัวใจ
สลาย glycogen และส้ราง glucose
หลั่ง insulin
ลดความอยากอาหาร
รูม่านตาขยาย
Epinephrine
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้น α (α1,α2) และ β (β1,β2)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
บีบหลอดลเือดและกระตุ้นหัวใจ
กล้ามเนื้อเรียบทางเดินอาหารคลายตัว
glucose และ lactose ในเลือดสูง
ไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ลดอาการหดเกร็งหลอดลม
เพิ่มอัตราชีพจรกล้ามเนื้อหัวใจ
ลดอาการเลือดออก
ลดการแพร่กระจายของยาออกไป
Norepinephrine / Noradrenaline
กระตุ้นที่ α1 และ β1 receptor
ชอบต่อ α receptor สูงกว่า
หลอดเลือดหดตัว
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตต่ำรุนเเรง
Dopamine ; DA
เป็น Neurotransmitter
ให้ยาต่างขนาด
DA ขนาดต่ำ
กระตุ้น D1-receptor
เพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไต
เพิ่มการขับโซเดียมทางปัสสาวะ
DA ขนาดปานกลาง
กระตุ้น β1 receptor
เพิ่มบีบแรงของหัวใจ
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจเล็กน้อย
DA ขนาดสูง
กระตุ้น α1 receptor
หลอดเลือดหดตัว
เพิ่มความดันโลหิต
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาภาวะช็อกจากหัวใจ
Dobutamine
กระตุ้น β1 receptor
เป็นยากระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
มีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
อาการข้างเคียง
วิตกกังวล ปวดศรีษะ อาการสั่น
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดบวมน้ำ
เกิด vasoconstriction มากจนเนื้อตาย
Alpha-adrenergic agonist
กระตุ้น α-adrenergic receptor
Alpha-1 agonist
Phenylephrine
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดหดตัว
เพิ่มแรงต้านในหลอดเลือด
เพิ่มความดันโลหิต
ยารูปแบบรับประทานหรือแบบพ่นจมูก
บรรเทาอาการคัดจมูก
พ่นยาบ่อยๆหลังหยุดยาเยื่อโพรงจมูกบวม
midodrine
หลอดเลือดหดตัว
ความดันโลหิตเพิ่มใช้กับผู้ป่วยมีอาการหน้ามืด
Alpha-1 agonist
Clonidine
กระตุ้นที่สมองและหลอดเลือด
เป็นยาลดความดันโลหิต
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาอาการขาดเหล้า
ลดอาการทางระบบประสาทซิมพาเทติก
รักษาอาการร้อนวูบวาบวัยหมดประจำเดือน
ผลข้างเคียง
ทำให้ง่วง ซึมเศร้า
ท้องผูก เบื่ออาหาร
เกิดอาการถอนยา
Beta-adrenergic agonist
ไม่จำเพาะต่อ β-receptor
จำเพาะต่อ β2-receptor
β2 adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน
terbutaline
ยาพ่น
บรรเทาอาการจับหืดเฉียบพลัน
ชนิดรับประทาน
ยับยั้งมดลูกบีบตัว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
บรรเทาอาการหืด
อาการข้างเคียง
อาการสั่น
อาการกระวนกระวาย
วิตกกังวล
หัวใจเต้นเร็ว
β3 adrenergic agonist
Mirabegron
ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ β2 receptor
รักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Indidect-acting and mixed-type adrenergic agonist
กระตุ้น adrenergic receptors
กระตุ้นการหลั่ง NE
Ephedrine & pseudoephedrine
Epiphedrine
เพิ่มการปลอดปล่อยสาร catecholamine
ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
pseudoephedrine
ยาลดน้ำมูกและคัดจมูก
อาการข้างเคียง
ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
นอนหลับ
หัวใจเต้นเร็ว
Amphetamine
ออกฤทธิ์ทางตรงและทางอ้อม
เพิ่มความดันโลหิต
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ลดความอยากอาหาร
ประโยชน์ทางคลินิกขอยาในกลุ่ม sympathomimetics
ใช้ในภาวะหัวใจหยุดเต้น
ภาวะช็อก
กระตุ้นแรงบีบตัวและอัตราการเต้นของหัวใจ
เพิ่มความดันโลหิต
เพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไต
ขยายหลอดลม
เป็นยาหลักรักษาหอบหืด
ลดความดันในลูกตา
ลดความดันโลหิต
ลดการบวมคลายกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
ยาคลิเนอร์จิก
(Cholinergic Drugs)
กลไกการออกฤทธิ์
ประเภท
ออกฤทธิ์กระตุ้น Cholinergic receptor
ยับยั้งการทำงานเอนไซม์
Acetylcholinesterase (AChE)
Cholinesterase (ChE)
Cholinergic agonist ออกฤทธิ์โดยตรง
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้น
Muscarinnic
Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัช
ฤทธิ์ต่อระบบร่างกายที่สำคัญ
ระบบหายใจ
กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว
ถ้ากระตุ้นมากจะเกิดอาการคล้ายหืด
ระบบไหลเวียนเลือด
สาร Muscarinic agonist มีผล
ลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กล้ามเนื้อปัสสาวะหดตัว
เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ
เพิ่มการบีบตัวท่อปัสสาวะ
การคลายตัวกล้ามเนื้อหูรูด
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มสารคัดหลั่ง
น้ำลาย
กรดในกระเพาะอาหาร
กระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหาร
ฤทธิ์ต่อตา
ม่านตาหรี่
ลดความดันในเบ้าตา
ระบบประสาทส่วนกลาง
กระตุ้นสมองส่วน Cortex
การรับรู้
การเคลื่อนไหว
ความอยากอาหาร
ความปวด
การนำไปใช้ทางคลินิก
Bethanechol
รักษาอาการปัสสาวะไม่ออก
รักษาอาการท้องอืด ไม่ถ่าย
Pilocarpine
รักษาต้อหินเฉียบพลัน
อาการข้างเคียง
ยาชนิดเม็ด
มึนศรีษะ คล้ายจะเป้นลม
มีน้ำลาย น้ำมูก เหงื่อออก
ปวดปัสสาวะ ปวดมวนท้อง น้ำตาไหล
ยาแบบหยอด
ตามัว ระคายเคือง
คันตา ตาแดง น้ำตาไหล
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหืด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคแผลกระเพาะอาหารหรือลำไส้
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ
Anticholinesterase agent
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
Acetylcholinesterase (AChE)
Cholinesterase (ChE)
Ach ที่ไม่ถูกทำลาย Ach จึงไปกระตุ้น Cholinergic receptors
central และ peripheal nervous system จับกับเอนไซม์ชั่วคราว
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
รักษาอาการลำไส้ กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
รักษาโรค Myasthenia gravis (MS)
ยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อ
รักษา Alzheimer's disease
อาการข้างเคียง
รูม่านตาเล็ก
หายใจลำบาก
หัวใจเต้นช้า
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด เหงื่อออก