Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเเละหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเเละหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
คือ วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคความเจ็บป่วยของมนุษย์เเละสัตว์
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาเเผนปัจจุบัน
ยาเเผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
เเบ่งตามเภสัชตำรับ
ตำเเหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เเหล่งที่มาของยา
เเหล่งกำเนิดดยา
จากธรรมชาติ
จากพืช
สัตว์
เเร่ธาตุ เช่น ไอโอดีน
จากการสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะ เช่นเกลือของเหล็ก
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามสูตรเคมี
เรียกชื่อสามัญทางยา
เรียกชื่อตามการค้า
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
คือ ยารักษาโรคซึ่งถูกปรุงเเต่งเป็นรูปเเบบ
รูปเเบบที่เป็นของเเข็ง
ยาเเคปซูล เจลาตินเป็นปลอกหุ้ม
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม
ยาผงเดือดฟู่
ยาผง
ยาเหน็บ
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
น้ำปรุง สารละลายใส อิ่มตัวของน้ำมันระเหยง่าย
ยาน้ำใส
ยาน้ำเชื่อม สารละลายเข้มข้นของน้ำตาล
ยาจิบ
ยากลั้วคอ ใช้ป้องกันหรีือรักษาอาการติดเชื้อในลำคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์ มีกลิ่นหอม รสหวาน
ยาสปริริต สารละลายใสของสารหอมระเหยง่าย
ยาโคโรเดียน ข้น เหนียว
ยากลีเซอลิน ข้นเหนียว
ยาถูนวด
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
คือ ยาน้ำเเขวนตะกอน
เช่น เจล
โลชั่น
มิกซ์เจอร์
รูปเเบบประเภทกึ่งเเข็ง
ขี้ผึ้งเป็นน้ำมัน
ครีมเป็นยาน้ำเเขวนตะกอนเข้มข้นมาก
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ยาทาผิวหนัง
ยาดม
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เกี่ยวข้องกับการเป็นไปของยาเมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
คือ อัตราเเละปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่กระเเสโลหิต
bioavailability คือสัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนเเปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระเเสเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึม
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิต รูปเเบบของยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติในการละลายไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร เช่นยาที่เป็นกรดอ่อนอย่างเเอสไพรินจะดูดซึมได้ดีในที่เป็นกรดอย่างกระเพาะอาหาร ยาที่เป็นด่างอ่อนอย่างมอร์ฟีนจะดูดซึมได้ดีในที่เป็รด่างอย่างลำไส้เล็ก
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น ยาที่ละลายในไขมันได้ดี คุณสมบัติเป็นด่าง
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจอยู่ในรูปก๊าซของเหลวระเหยได้ดีจะซึมได้ง่ายทางระบบไหลเวียนโลหิต
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนังจะซึมเข้าสู่กระเเสเลือดได้ 100%
การให้ยาซึมผ่านผิวหนัง
การให้ยาเเบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
พยาธิสภาพของร่างกายเช่น ท้องเสียมีผลต่อการดูดซึมยาผ่านทางเดินอาหารได้
การกระจายตัวของยา
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
คุณสมบัติทางเคมีเเละฟิสิกส์ของยา เช่นคุณสมบัติการละลายไขมัน
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า เพราะยาที่รวมตัวกับโปรตีนจะมีขนาดใหญ่ไม่สามารถผ่านผนังหลอดเลือดฝอยไปยังที่ออกฤทธิ์ได้
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองเเละรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่นยาอาจออกฤทธิ์ช้ากว่าเดิม
การเเปลสภาพยาหรือการเปลี่ยนเเปลงยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนเเปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะเช่น ตับ
ในร่างกายมีenzymeหลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการเเปลสภาพยาเช่น flavoprotein
ปฎิกิริยาการเปลี่ยนเเปลงยาโดยปกติเเบ่งได้
phase l reaction จะปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยากระบวนการ oxidation
phase ll reaction ยาที่มีความจำเป็นpolar มากพอที่จะถูกขับออกทางไตต้องถูกทำให้ละลายน้ำได้ดี
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งเเวดล้อม
อายุ
ปฎิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีลักษณะเหนี่ยวนำเอนไซม์
ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
การขับถ่ายยา
ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดีเเละปอดนอกจากนี้ยังมีทางน้ำนมเเละเหงื่อ
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
ค่าครึ่งชีวิต half life คือเวลาที่ใช้ในการทำให้ความเข้มข้นของยาลดลง50%
loading dose คือขนาดยาที่ให้ครั้งเเรก
onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทะิ์ที่ต้องการ
duration of action ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor เช่นยาลดกรด
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
affinity คือความสามารถของยาในการจับเข้ากับ receptor
efficacy คือความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
potency คือความเเรงของฤทธิ์ยา
ระดับความปลอดภัยของยา TI
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำเเต่ถ้าค่า TI สูงจะมีความปลอดภัยสูง
การเเปลผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy ที่เเตกต่างจากคนปกติ
hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
hyperactivity การตอบสนองต่อยามากกว่าปกติ
hypersensitivity การเเพ้ยา
toleranceการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา
tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวดเร็ว
placebo effect คือฤทธิ์หลอก