Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา(pharmacology)
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรอผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม (pharmacy)
ศึกษาเกี่ยวการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุปัน
ยาใช้ภายนอก
สำหรับภายนอก ทั้งนี้ ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้เฉพาะที่กับ
ช่องคลอด
ทวารหนัก
จมูก
หู
ตา
ปาก
ท่อปัสสาวะ
ผิวหนัง
ยาควบคุมพิเศษ
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆ ทางเภสัชกรรม บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่ปิดผนึกไว้ และมีฉลากครบถ้วนตาม
ยาแผนโบราณ
ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบำบัดโรคสัตว์
ยาสมุนไพร
ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ ซึ่งมิได้ปรุงหรือแปรสภาพ
ยาแผนปัจจุปัน
ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือการบำบัดโรคสัตว์
ตามเภสัชตำรับ
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยาหรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ
กลัยโคไซด์ที่ได้จากพืช
ประโยชน์ในการรักษา
นิยมใช้กันมากที่สุด
แบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ความหมายของยา
วัตถุใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความป่วยของมนุษย์
วัตถุที่ได้รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ
เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือ เภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
แหล่งกำเนิดยา
จากการสังเคราะห์
อาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามการค้า (trade name)
ชื่อที่บริษัทผู้ผลิตยาหรือตัวแทนจำหน่ายยา เป็นผู้ตั้งและขอจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณสุข มักตั้งชื่อยาให้น่าสนใจจำง่าย
เรียกชื่อตามสูตรเคมี (chemical name)
เรียกตามลักษณะส่วนประกอบทางเคมีของยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา (generic name)
แบ่งป็นกลุ่มๆ ชื่อยารวมอยู่ในกลุ่มจะมีฤทธิ์เหมือนกัน
จากธรรมชาติ
จากพืช
มอรืฟีนและโคดีอีนได้จากยางของฝิ่นใช้เป็นยาแก้ปวด
สกัดเอาสารที่มีอยู่ในพืชออกมาทำให้บริสุทธิ์ ซึ่งสามารถกำหนดขนาดในการรักษาได้เรียกว่า สารบริสุทธิ์ (purified drug)
ยาที่ได้จากส่วนต่างๆ ของพืชโดยตรง
นำมาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนแปลงรูป เรียกว่า ยาสมุทรไพร (crude drug)
ใบชาและเมล็ดกาแฟ ใช้เป็นยากระตุ้นประสาทส่วนกลาง
จากสัตว์
สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
ปัจจุบันไม่นิยมใช้
จากแร่ธาตุ
น้ำมันเกลือแร่
ทองงแดง
ไอโอดีน
ยาใส่แผลสด tincture iodine
ผงน้ำตาลเกลือแร่
ยา lithium carbonate เป็นยารักษาโรคจิตชนิดคุ้มคลั่ง
ยาลดกรดประเภทอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ แมกนีเซียมไฮดรอกไซต์
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม (pharmaceutical preparations, pharmaceutical products)
รูปแบบที่เป็นของแข็ง (solid form)
ยาแคปซูล (capsule)
เป็นยาที่มีเจลาตินเป็นปลอกหุ้ม เพื่อกลบรสขมของยา
ยาเม็ด (tablet )
ยาเม็ดเคลือบ
ออกฤทธิ์ที่ลำไส้ ป้องกันการแตกตัวของยาที่กระเพาะอาหาร ป้องกันการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
เพื่อลดการแตกตัวในปาก แต่ไปแตกตัวที่ลำไส้
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
เข้าสู่กระแสโลหิตได้โดยตรง
ออกฤทธิ์เร็ว
ไม่ถูกทำลายโดยกระเพาะอาหาร
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
เข้าสู่กระแสโลหิตได้โดยตรง
ออกฤทธิ์เร็ว
ไม่ถูกทำลายโดยกระเพาะอาหาร
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ต้องเคี้ยวยาก่อน ยาจึงจะออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม (Lozenge) และ ไทรเซ (Troche)
ประกอบด้วยยาฆ่าเชื้อและยาทำลายเชื้อ
ผสมน้ำตาลให้มีรสชาติน่ารับประทาน
ยาผงเดือดฟู่ (Effervescent powder)
ละลายน้ำได้ง่าย
ประกอบด้วย Sodium bicarbonate และ Acetic acid
ยาผง ( Pulveres หรือ Power)
เพื่อให้เก็บยาได้นาน กลิ่น รส ดีขึ้น
มีทั้งชนิดกินและโรยแผล
ยาเหน็บ (Suppositories)
ยาที่เตรียมขึ้นเพื่อใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ออกฤทธิ์ตรงบริเวณที่เหน็บ
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
น้ำปรุง ( Aromatic water )
เป็นสารละลายใสและอิ่มตัวของน้ำมันหอมระเหย
ตัวยาสำคัญ คือน้ำมันหอมระเหย
ยาน้ำใส ( Solutions)
เป็นสารของแข็ง หรือ ของเหลว
ละลายในน้ำบริสุทธิ์
เป็นของเหลวชนิดที่เหมาะสม
ยาน้ำเชื่อม ( Syrups )
มีกลิ่น รสดี สีสวย
มีความคงตัวดี
มีความหนืด
มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่เล็กน้อย หรือ ไม่มีเลย
ยาจิบ ( Linctuses )
ลักษณะหนืดเล็กน้อย
เป็นยาที่ใช้ระงับการไอ ขับเสมหะ
ยากลั้วคอ ( Gargale )
เป็นสารละลายใสและเข้มข้น
มีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
รักษาอาการติดเชื้อในคอ
ยาอมบ้วนปาก ( Mouthwash )
ใช้ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก
ยาหยอดจมูก ( Nasal preparations )
เป็นยาละลายในน้ำ
ยาหยอดหู (Otic preparation)
เป็นยาน้ำใส บางครั้งเป็นยาแขวนตกตะกอน
ยาสวนล้าง (lrrigation)
มักนิยมเรียกว่า Douches
ขนาดบรรจุมากกว่ายาฉีด
ใช้จุกขวดเป็นเกลียวธรรมดา
บรรจุสำหรับใช้ครั้งเดียว
ยาน้ำสวนล้างทวาร (Enemas)
ประกอบด้วย กลีเซอลีน
สารละลายน้ำเกลือ หรือสารละลายโซเดียมไปคาร์บอเนต
ยาน้ำสารละลายที่ตัวละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์ (Elixir)
มีแอลกอฮอล์จำนวน 3-44% ผสมในน้ำ หรือ ส่วนผสมอื่นที่ไม่ใช่น้ำ
ยาสปริริต (Spirits)
มีแอลกอฮอล์ค่อนข้างสูง คือ มีมากกว่า 60%
ยาโคโลเดียน (Collodians) หรือยากัด
มีลักษณะข้น เหนียว
มักใช้ทาบาดแผลขนาดเล็ก
มีฤทธิ์ลอกผิวหนัง หรือ เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว
ยากลีเซอริน (Glycerines)
มีลักษณะข้นเหนียว หรือ กึ่งแข็ง
ประกอบด้วยตัวยากลีเซอรินไม่น้อยกว่า 50%
ใช้เป็นยาหยอดหู ยาอมบ้วนปาก ยาทำให้ผิวหนังอ่อนนุ่ม
ยาถูนวด (Liniments)
เป็นยาน้ำใช้เฉพาะภายนอก
ยาป้าย (Paints)
มีฤทธิ์ต้านการติดเชื้อสมานแผลหรือระงับปวดละลายอยู่ในน้ำแอลกอฮอล์ผสมอะซีโตน
ใช้ป้ายผิวหนังหรือเยื่อเมือก
ยาน้ำกระจายตัว
หมายถึงยาน้ำแขวนตะกอน เวลาใช้ต้องเขย่าขวดเพื่อให้ยากระจายได้ทั่วถึง
รูปแบบของยาน้ำแขวนตะกอน
เจล (Gels)
ตัวยามีขนาดเล็ก แต่ไม่ละลายน้ำมีลักษณะเป็นกาว
โลชั่น (Lotions)
เป็นยาน้ำแขวนตะกอนชนิดใช้ภายนอก
แมกมาและมิลค์ (Magmas and Milk)
เป็นยาแขวนตะกอนคล้ายเจล แต่สารยามีขนาดใหญ่ลักษณะของยาจึงหนืดกว่า
มิกซ์เจอร์ (Mixture)
เป็นยาน้ำผสมอาจใส่หรือไม่ใส่ยาแขวนตะกอนก็ได้
อิมัลชั่น (Emulsion)
มีทั้งรูปแบบยากินและยาทาเฉพาะที่ เป็นส่วนผสมของน้ำมันกระจายอยู่ในน้ำ มีลักษณะขุ่นเหนียว
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง (Oiltment)
ลักษณะเป็นน้ำมัน
ใช้เพื่อลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
ครีม (Paste)
ยาน้ำแขวนตะกอนที่มีความข้นมาก
ใช้สำหรับฉีดป้องกันการติดเชื้อ
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด (Injections
มีความบริสุทธิ์สูงไม่มีสารพิษหรือสารที่ดูดซึมไม่ได้
เป็นยาน้ำใสยาผงผสมแห้งชนิดไร้เชื้อยาแขวนตะกอนชนิดไร้เชื้อ
ห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือซ่องไขสันหลัง
ยาทาผิวหนัง (Applications)
เป็นยาสำหรับใช้ทาเฉพาะที่อาจเป็นยาน้ำใสอิมัลชั่นยาน้ำแขวนตะกอนก็ได้
ยาพ่นฝอย (Spray)
เพื่อให้ตัวยากระจายเป็นอนุภาคเล็ก ๆ และออดฤทธิ์ในบริเวณที่ต้องการโดยตรง
ยาดม (Inhalant)
เป็นยาที่มีกลิ่นหอมระเหยสามารถสูดดมได้ง่ายใช้สูดดมเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนต่างๆ
ข้อดีข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บราคาถูก
ยาส่วนใหญ่อาการไม่รุ่นแรงและรวดเร็วเท่ายาฉีด
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับนาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า ไม่คงตัว
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรงถึงชีวิต ยามีราคาแพง
ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ยาฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ยาดูดซึมได้รวดเร็ว
ข้อเสีย
ให้ยาครั้งละไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
นิยมใช้ในปัจจุบัน
ยาพ่นฝอย ยาโรซอล สูดดม และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
อาจเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ปริมาณยาที่ได้ไม่แน่นอน
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อเสีย
รสชาติไม่ดี
ใช้เวลานาน ไม่สะดวกในการพูด
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ยาเหน็บ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ และทั่วร่างกาย
เหมาะสำหรับเด็ก
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ราคาแพง
อาจเกิดการติดเชื้อภายในของอวัยวะสืบพันธ์ได้