Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การจัดการของร่างกายกับยาที่เข้าไปในร่างกาย
Half life : ค่าครึ่งชีวิต
เวลาที่ใช้ในการทำให้ยาหรือความเข้มข้นลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง
เป็นตัวกำหนดการให้ยา
Loading dose
ขนาดยาที่ใช้ครั้งแรกให้ถึงระดับที่ต้องการในพลาสมา
Onset
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
Duration of action
ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยาและรูปแบบของยา
ขนาดยาที่ให้
ละลายในไขมัน : ละลายไขมันได้ดีดูดซึมได้ดี
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
กรดอ่อนจะถูกดูดซึมได้ดีที่เป็นกรด pHต่ำ
ด่างอ่อนจะถูกดูดซึมได้ดีที่เป็นด่าง pHสูง
First pass effect
ไม่ปกติ metabolite ที่ตับก่อนดูดซึม
ปริมาณในเลือดลดลง
ไม่มีการออกฤทธิ์
ต้องเพิ่มdoseยามีผลกระทบเพิ่มขึ้น
หาก first pass effect สูงจะต้องเปลี่ยนการให้ยา
การให้ยาดูดซึมผ่าหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
ยาอมใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านระบบทางเดินหายใจ
ยาแบบสูดดม
การให้ยาโดยการฉีด
ความเร็วในการดูดซึมยา : IV มากกว่า IM มากกว่า SC
ดูดซึมเข้ากระแสเลือด (Bioavailability) 100%
ดูดซึมผ่านผิวหนังต้องละลายได้ดีในไขมัน
การกระจายตัวของยา
ปริมาณการไหลเวียนของเลือด
ปริมาณการไหลเวียนเลือดสูงดูดซึมได้อย่างรวดเร็ว
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยา
ยาในรูปของเหลวกระจายตัวได้ดีกว่า
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ค่าต่ำออกได้ดี
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
ยาที่ละลายในไขมันได้ดีเท่านั้นจึงจะสามารถผ่าน BBB ได้
การสะสมของยาที่ส่วนอื่นตรงกระดูกและฟัน
อาจเกิดผลข้างเคียงต่ออวัยวะที่ยาไปสะสม
การเปลี่ยนแปลงยาหรือการแปรสภาพยา
การกระตุ้นออกฤทธิ์ของยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
การแปรสภาพอย่าให้มีการละลายน้ำได้ดีขึ้นเพื่อง่ายต่อการขับผ่านไป
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ในไซโตพลาสซึม
Cytochrom P450
Phase l
ยาเป็น polar metabolite มาก ขับออกจากร่างกาย
Phase ||
ไม่มีความเป็น polar มากพอที่จะถูกขับออกทางไต
ถูกทำให้ละลายน้ำเกิดรวมตัวกับ endogenous compound ในตับ
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
การสูบบุหรี่
อายุ
เด็กและผู้สูงอายุไวต่อการออกฤทธิ์
การขับถ่าย
กำจัดออกทางไต ตับ น้ำดีและปอด
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์จับกับ receptor
Receptor
องค์ประกอบของเซลล์ พบได้ที่ผนังเซลล์ cytoplasm
จดจำและจับกับสารที่จำเพาะ
Agonist
จับกับตัวรับและออกฤทธิ์
Antagonist
ยาจับกับตัวรับแล้วลดการออกฤทธิ์ของ agonist
Partial agonist
จับกับตัวรับและออกฤทธิ์บางส่วน
เภสัชพลศาสตร์
Affinity
ความสามารถของยาที่จับกับตัวรับ
Efficacy
การเกิดฤทธิ์สูงสุด
ระดับความปลอดภัยของยา
TI ต่ำความปลอดภัยต่ำ
TI สูงความปลอดภัยสูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Idosyncrasy
แตกต่างจากปกติที่คนส่วนใหญ่ไม่พบ
Hyporeactivity
ตอบสนองต่อยาน้อยกว่าปกติ ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
Hyperractivity
ตอบสนองต่อยามากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Tolerance
การดื้อยา หลังได้รับหลายๆครั้ง
Tachyphylaxis
ดื้อยาที่เกิดรวดเร็ว หลังได้รับ 2-3 ครั้ง
Placebo effect
ยาหลอก