Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การท าความสะอาดร่างกาย
ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุก วัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
ภาวะสุขภาพ
การศึกษา
เพศ
อายุ
อาชีพ
เศรษฐกิจ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถพิจารณากระทำได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคำสั่งของแพทย์เมื่อผู้ป่วยเข้านอนรักษาโรงพยาบาลจนถึงกลับบ้าน
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ(Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่าง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
จุดประสงค์
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ป้องกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
หลักการนวดหลัง
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ภาวะมีไข้ โรคผิวหนัง โรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแป้ง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล
หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน
และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง
ไม่สามารถรับประทานอาหาร ละน้ำทางปากได้
ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สำลีที่ใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
เครื่องใช้
syringe 10 cc
ลูกสูบยางแดง (baby ball หรือ syringe ball)
น้ำยาบ้วนปาก เช่นน้ำเกลือ น้ำยาบ้วนปาก (special mouth wash)
แก้วน้ำ
ไม้พันสำลี
ชามรูปไต
ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสำลี
3% hydrogen peroxide
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก เช่น วาสลินทาปาก เป็นต้น
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว
กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลความสะอาดของตา
การทำความสะอาดตา
ผู้ป่วยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา ซึ่งจำเป็นต้อง กำจัดออก ไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสำลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
0.9% NSS หรือน้ าสะอาด
ส าลีสะอาด หรือไม้พันส าลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ป่วยจัดวางให้สะดวกในการใช้
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อจัดท่าที่เหมาะสม
ใช้สำลีชุบ 0.9% NSS หรือน้ำสะอาด เช็ดทำความสะอาดในช่องหู ใบหู และ หลังใบหู แล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาดจนแห้ง
สวมถุงมือ และmask
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
เครื่องใช้
ถาดใส่แก้วใส่น้ าสะอาดหรือ 0.9% NSS
ไม้พันส าลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
ผ้าก๊อซ
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์70% สำลีชุบเบนซิน
และสำลีชุบน้ำเกลือใช้ภายนอก
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
เครื่องใช้
ถาดใส่ยาสระผม หวีหรือแปรงผม ที่หนีบผ้า (ถ้าใช้ผ้ายางเป็นอุปกรณ์รองรับน้ำจากศีรษะ) ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน สำลี 2 ก้อน ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก 1 ผืน แก้วน้ำ และน้ำมันมะกอก (ถ้ามี)
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
เพศชาย
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน (bed pan) พร้อมผ้าคลุมหม้อนอน (bed pad) ผ้ายางผืนเล็ก
ผ้าปิดตา
ถาดใส่ของ ประกอบด้วย
4.3 ชุดชำระ (P-care set) ประกอบด้วย ชามกลม (bowl) สำลีก้อนใหญ่สำหรับชำระ 7 ก้อนและปากคีบ (forceps) 1 ตัว
4.4 ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
4.5 กระดาษชำระ 2-3 ชิ้น
4.2 น้ำสบู่ หรือสบู่เหลว
4.1 น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอกหรือน้ำสะอาด
เพศหญิง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้ของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
เครื่องใช้
(เหมือนกับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียดเกี่ยวกับ......
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค…..
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องงเนื่องจากเป็นอัมพาต...
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกายเนื่องจาก....
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกต
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ปุวย
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน (Rest)
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการ
ทำงานของอวัยวะต่าง โดยนั่งเฉย ชั่วขณะหนึ่ง
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึง
ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้
ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำ
กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่น โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
ความสาคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวม
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุนความทนต่อความเจ็บปวดลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ความคิดและการรับรู้บกพร่อง เหนื่อยล้า เฉื่อยชา
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ
อารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำ
ให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลง และมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อ ต่างๆ ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการ หายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับท่ีผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
กลุ่มอื่น ๆ
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอ านวยความสะดวก
อุณหภูมิ
เสียง
กลิ่น
กลิ่นหอม
กลิ่นเหม็น
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position
Lateral position
Fowler’s position
Sitting position
Dorsal position (supine position)
การทำเตียง
เครื่องใช้
เครื่องผ้า โดยเรียงลำดับการปูเตียงก่อนหลัง
ผ้าปูที่นอน
ผ้ายางขวางเตียง (ถ้าจำเป็น)
ผ้าขวางเตียง
ปลอกหมอน
ผ้าคลุมเตียง และ ผ้าห่ม
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
การทำเตียง มี 4 ชนิด
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ
(Surgical/ether/anesthetic bed)
การทำเตียงว่าง (Close bed)
หลักปฏิบัติการทำเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามล าดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
. จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
หากมีปูเตียงที่มีผู้ปุวยควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบก่อนการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่ำเสมอ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
การทำเตียงว่าง
เป็นการทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย เพื่อเตรียมรับ
ผู้ป่วยใหม่ หรือทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย ให้หอผู้ป่วยเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ป่วยใหม่
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
เครื่องผ้า เหมือนการท าเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
กระบอกฉีดน้ าผสมผงซักฟอก ถังน้ าสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และ mask
ถังใส่ผ้าเปื้อน
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ปุวยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยสำลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
เครื่องใช้
ถังบรรจุน้ำยาฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์ฟอกล้างและผ้าเช็ดเตียง
เครื่องใช้อื่น ตามความจำป็น เช่น เสาน้ำเกลือ เครื่องดูดเสมหะ
เครื่องดูดสารคัดหลั่ง เป็นต้น
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อ
ระบายต่างๆ
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
อุณหภูมิ
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
เสียง
ยา
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและ
ปลอดภัย
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ(แบบแผนที่ 5)
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ปุวย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
ไม่ให้ดื่มน้ าหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
ให้มีกิจกรรมท าในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ ดูทีวี เป็นต้น
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด และการจัดการกับความเครียด
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา และดูแลความปลอดภัย
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ตำกว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ