Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการ วินิจฉัยชุมชนและการแก้ไขปัญหา - Coggle…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการ
วินิจฉัยชุมชนและการแก้ไขปัญหา
1.การประเมินชุมชน(community assessment) :explode:
Data Collection การเก็บรวบรวมข้อมูล :red_flag:
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อดี
ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย
เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อดี
ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย
อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
1.ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ประวัติชุมชน ที่ตั้งอาณาเขต สภาพภูมิ ประเทศ แหล่งประโยชน์ชุมชน วิถีชุมชน ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม ผู้นำชุมชน
2.ข้อมูลประชากร
อายุ เพศ สถานะภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได้
3.ข้อมูลด้านสุขภาพ
อัตราเกิด อัตราตาย อัตราอุบัติการณ์ อัตราป่วยของโรคต่างๆ
4.ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ:
การรับประทานอาหาร การออก กำลังกาย การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การตรวจคัดกรองโรค
5.ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ขยะ น้ำ ส้วม พาหะนำโรค เช่น ยุงลาย
6.ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ คุณภาพ คลินิก ร้านขายยา หมอพื้นบ้าน การใช้สมุนไพร
เครื่องมือ/ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
การสำรวจ
การใช้แบบสอบถาม
การวัดและประเมิน
การทดสอบ
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
เช่น การใช้การสุ่มแบบง่าย
หรือการสุ่มแบบเป็นระบบ
Data Analysis การวิเคราะห์ข้อมูล :red_flag:
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล
ข้อมูลด้านสุขภาพ
Inferential Stat. T-Test, Chi-Square etc.
2ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
Data Presentation :red_flag:
Text
Table
Bar Chart
Pie Chart
Line Graph
Pyramid Diagram
การระบุปัญหา (Problem Identification) :explode:
การระบุปัญหา (Problem Identification) :red_flag:
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
หลักการเขียนปัญหาควรมีความชัดเจน :red_flag:
ใครรับผลของปัญหา
มีจำนวนหรืออัตรามาก น้อยเพียงใด
เป็นอะไร
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา :red_flag:
.จอหน์แฮนลอน และจอร์ท พิคเค็ท ใช้องค์ประกอบ 4 ประการดังนี้ :red_flag:
1.1ขนาดของปัญหา
1.2ความรุนแรงของปัญหา
1.3ประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ปัญหา
1.4 ฐานะเศรษฐกิจ
สมาคมสาธารณสุขอเมริกา 5 องค์ประกอบ :red_flag:
ระดับความตระหนักในปัญหาของ กลุ่ม
จำนวนทรัพยากรที่มีอยู่สำหรับการ แก้ปัญหานั้น
ความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ความต้องการความรู้เฉพาะที่จะนำมาแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่เกี่ยวข้องที่จำเป็น
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพบูลย์ โล่สุนทร ได้เสนอองค์ประกอบไว้ 8 ประการ :red_flag:
อุบัติการณ์ของโรค
ความชุกของโรค
ความรุนแรงของโรค
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
โรคนั้นป้องกันได้
โรคนั้นรักษาหายได้
ทรัพยากรทางด้านอนามัยและอื่นๆ
ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน
จริยวัตร คมพยัคฆ์ ได้เสนอแนวทางโดย
พิจารณาจาก 3 องค์ประกอบ :red_flag:
องค์ประกอบด้านสุขภาพอนามัย
ความรุนแรงของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านวิชาการ
ด้านบริหาร
ด้านระยะเวลา
ด้านกฎหมาย
ด้านศีลธรรม
ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน
เป็นความ ต้องการที่จะแก้ไขปัญหาโดยเร็วของชุมชนโดยประชาชนมีส่วนร่วมเข้าไปแก้ปัญหาด้วย