Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
Puerperal Infection
การติดเชื้อแบคทีเรียภายหลังคลอดที่เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระยะหลังคลอดไปจนถึงระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุ
การติดเชื้อระบบอวัยวะสืบพันธุ์
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อที่เต้านม
ตำแหน่งที่เกิด
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ (Localizied infection)
การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometritis , Metritis)
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน (Parametritis , Pelvic cellulitis)
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง (Peritonitis)
Localizied infection
สาเหตุ
เกิดจากการปนเปื้อนของแบคทีเรียขณะคลอด
การวินิจฉัย
มีไข้หลังวันที่ 2 ของการคลอด
เจ็บแผลฝีเย็บมาก
แผลมีการอักเสบ บวมแดง
แผลจะแยกออกจากกัน
ปัสสาวะลำบาก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ถอดไหมที่เย็บและเปิดแผลทั้งหมด
ใช้ยาชา 1% xylocain jelly ทาที่แผล
ตัดเนื้อเยื่อที่ตายออกทั้งหมด
ทำความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ด้วย betadine
ให้ hot sitz bath วันละหลายครั้ง ด้วยน้ าผสมเกร็ดด่างทับทิม หรือนheกลือ หรือให้ infrared light
ประเมินลักษณะแผล ถ้าแผลสีชมพูค่อนข้างแดง ให้เย็บฝีเย็บโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
การพยาบาล
ติดตามประเมินแผลฝีเย็บทุกวัน
ดูแลทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
เมื่อแผลติดดีขึ้น ความเจ็บปวดน้อยลง ให้นั่งแช่ก้นวันละ 2 - 3 ครั้ง
ดูแลให้ยาแก้ปวด
กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อยๆ
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ
Endometritis , Metritis
สาเหตุ
การตรวจภายใน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
การผ่าตัดที่มดลูก
การตรวจ Internal electrical monitoring
การวินิจฉัย
มีไข้สูง อุณหภูมิมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
ร่วมกับภาวะ bacteremia
ปวดท้องน้อย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ระดับยอดมดลูกโตกว่าที่ควรจะเป็น
กดเจ็บที่มดลูกหรือปีกมดลูกทั้งสองข้าง
มีภาวะ leukocytosis ตั้งแต่ 15,000 - 30,000 cell
neutrophils สูงขึ้น
การรักษา
penicillin ร่วมกับ aminoglycoside
penicillin กับ tetracycine
penicillin กับ cepharosporin
การพยาบาล
แนะนำและดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้นอนพักผ่อน
แนะนำให้งดการมีเพศสัมพันธุ์
ดูแลให้รับประทานอาหาร
จัดให้นอนท่า fow ler’s
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ
Parametritis , Pelvic cellulitis
สาเหตุ
มีการติดเชื้อที่ช่องคลอด หรือปากมดลูก เป็นอยู่นานโดยไม่ได้รับการดูแลรักษา ทำให้เกิดการติดเชื้อลุกลาม
การวินิจฉัย
มีไข้สูง 38.9 - 40 องศาเซลเซียส
กดเจ็บที่ท้องน้อย
ตรวจภายในพบมดลูกโต และเคลื่อนไหวได้น้อย
parametrium ตึง หนา และกดเจ็บ
ฝีหนองที่เหนือ poupart’s ligament
การพยาบาล
1 ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาการอย่างใกล้ชิด
จัดท่าให้นอน Semi - fowler
4 ดูแลให้ได้รับน้้ำ ประมาณวันละ 3,000 - 4,000 มิลลิลิตร
Peritonitis
สาเหตุ
มีการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูก
แผลผ่าตัดในมดลูกแยก หรือเนื้อเน่าเปื่อย
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
ฝีที่ท่อน าไข่และรังไข่แตก
การวินิจฉัย
ท้องอืด
ปวดท้อง
กดเจ็บผนังหน้าท้อง
มีไข้สูง อุณหภูมิ 39 - 40.5 องศาเซลเซียส
ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ gastric suction
งดน้าและอาหารทางปาก
ให้สารต้านจุลชีพหลายอย่างรวมกันให้เหมาะสม
ผ่าตัด
ให้ยาแก้ปวด
การพยาบาล
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
2 ให้นอนท่า semi-fowler
3 ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวินะ
4 ประเมินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
5 ดูแลให้ยาแก้ปวด
Subinvolution of uterus
สาเหตุ
ความตึงตัวของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี
มีเศษรก หรือเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
มีการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
หลังคลอด 4 - 6 สัปดาห์
มีภาวะเลือดออกมาก
ระดับยอดมดลูกไม่ลดต่ำลง
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาช่วยการบีบตัวของมดลูก
การพยาบาล
คลึงมดลูก
แนะนำวิธีที่ทำให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก
Mastitis
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ staphylococcus aureus
การวินิจฉัย
เต้านมแดง ร้อน แข็งตึงใหญ่ ปวด กดเจ็บ
น้ำนมออกน้อยลง
มีไข้สูง 38.3 - 40 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
แนะนำการทำความสะอาดหัวนมให้เพียงพอ
ดูดนมข้างที่มีการติดเชื้อ
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนม
Postpartal psychiatric disorder
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
สาเหตุ
การตั้งครรภ์และการคลอด
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ
ความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ
มีความรู้สึกวิตกกังวลท้อแท้
ความรู้สึกไว
มีอารมณ์เศร้า
การพยาบาล
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตร
ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะคู่สมรสช่วยให้กำลังใจ
คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
สาเหตุ
มารดาที่มีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น manic-depressive
มารดาที่มีภาวะเครียด
มารดาที่มีบุคลิกภาพแปรปรวน
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย
นอนไม่หลับ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
หวาดระแวง
การรักษา
ให้ยา antipsychotic
ยา sedative
ช็อคไฟฟ้า
การทำจิตบำบัด
การพยาบาล
ให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจำวัน
ให้ความเป็นกันเอง
ให้ระบายความรู้สึก
ให้เข้ากลุ่มจิตบำบัด
อธิบายให้สามีและญาติเข้าใจและทราบถึงวิธีการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุ
หลังคลอดครรภ์แรก
ที่มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ขาดการประคับประคองจากญาติ
ขาดสัมพันธภาพกับบิดา มารดา
มีความเครียดทางจิตใจ
อาการและอาการแสดง
ท้อแท้ สิ้นหวัง
มองโลกในแง่ร้าย
หดหู่ หม่นหมอง
รู้สึกไร้ค่าไม่มีความหมาย
การรักษา
โดยการให้ยา
Phenelzine
Amitriptyline
Isocarboxazind
การรักษาทางจิต
การใช้กลุ่มช่วยในการรักษา
การพยาบาล
ให้โอกาสหญิงหลังคลอดได้ซักถาม
ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้มารดาได้รับความสุขสบายด้านร่างกาย
อธิบายให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายแจะจิตใจหลังคลอด
ดูแลช่วยเหลือและให้คำแนะนำการปฏิบัติตนในระยะหลังคลอด และการเลี้ยงดูบุตร