Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS,…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
Mass Casualty
อุบัติเหตุกลุ่มชน
ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
Disaster management cycle
การป้องกันและลดผลกระทบ
(Prevention and Mitigation)
การเตรียมความพร้อมรับภัย
(Preparedness)
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
(การจัดการในภาวะฉุกเฉิน)
(Response and Relief or Emergency
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
(Rehabilitation and Reconstruction)
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me ( Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
หลักสำคัญของการเข้าช่วยเหลือ
• Safety: ประเมินความปลอดภัย
• Scene: ประเมินกลไกการเกิดภัย
• Situation: ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที ได้แก่ ผู้ป่วยหยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น ผู้ป่วยช็อก หายใจลำบากมาก เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน เป็นต้น
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต แต่หากรอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้ ได้แก่ ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก) ผู้ป่วยกระดูกหักผู้ป่วยหอบเหนื่อย(ไม่มาก) ผู้ป่วยปวดท้อง เป็นต้น
Non-urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต เป็นต้น
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษา
จะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
Decision Point B: Should the Patient Wait?
High risk ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร็ว สามารถให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้ เช่น ให้ O2, เปิด IV fluid, monitor EKG ได้แก่ active chest pain (suspected ACS), needle stick in HCW, stroke, ectopic pregnancy, fever with immunocompromised, fever in infant < 28 d, suicidal/homicidal patient
Confused พิจารณาว่าเป็นอาการที่เกิดขึ้นใหม่
Distress เช่น case sexual assault, domestic violence, combative patient, manic episode, severe pain อาจจะดูจากอาการภายนอกเช่น สีหน้า ร้องไห้ เหงื่อแตก นอนบิดตัว หรือดูจาก vital signs เช่น hypertension, tachycardia, tachypnea หรือการที่ประเมิน pain score > 7
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
Initial Assessment and Management
การเตรียมรับผู้ป่วย แบ่งเป็น
1.1 Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
airway maintenance
control of external bleeding and shock
immobilization
immediate transport ไปยัง โรงพยาบาล
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
A = Allergies
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
หลักการจำ OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C = Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลักการจำ PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
เครื่องชี้วัดในการบ่งบอกระดับความรุนแรงเพื่อการ
คัดแยกผู้ป่วย คือ trauma score ซึ่งประกอบด้วย
Glasgow coma score
blood pressure
pulse rate
capillary filling
respiration
Score Rating Definition
5 Good Recovery Resumption of normal life despite minor deficits
4 Moderate Disability Disabled but independent. Can work in sheltered setting
3 Severe Disability Conscious but disabled. Dependent for daily support
2 Persistent vegetative Minimal responsiveness
1 Death Non survival
1.2 In hospital phase
เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากร
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
universal precaution
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
ประเภทของการบาดเจ็บช่องท้อง มี 2 ประเภท
Blunt trauma การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก การให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง แบ่งออกเป็น การบาดเจ็บที่มีแผลถูกแทงจากของมีคม และการบาดเจ็บที่ท้องที่มีแผลถูกยิง : การผ่าตัด
การประเมินสภาพ
- การดู :
พบรอยช้ำ รอยแผลบริเวณท้อง หลัง เอว(Grey-Turner’s sign) และรอบสะดือ(Cullen’s sign) ท้องโป่งตึง โดยต้องมีเลือดออกมากกว่า 1.5 ลิตรท้องจึงจะโป่งตึง
การคลำ :
ผู้ป่วยเกร็งหน้าท้องเองเวลากด (Voluntary guarding)
หน้าท้องเกร็งจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง (Involuntary guarding)
การกดหน้าท้องแล้วปล่อยอย่างรวดเร็ว (Rebound tenderness)
การฟัง, การเคาะ :
อาจพบเสียงลำไส้ที่ช่องอก เคาะทึบ หรือโป่ง
อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด หมดสติ ช็อก
การรักษาพยาบาลที่สำคัญ
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา
ทำให้สั้นลงเพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา
ปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัดให้ ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ (หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ในขณะนั้น) และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้งหรือวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่านได้อีกชั้นหนึ่ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
การถูกกระแทกจากทางด้านข้าง ไม่ทำให้ Ligament ฉีกขาดได้
การถูกแรงกระแทก จนทำให้ Ligament ฉีกขาดร่วมกับอวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บ ได้แก่ หลอดเลือด หรือระบบประสาท
เกิดจากแรงกระแทกด้านเดียวของเชิงกราน และเป็นสาเหตุที่รุนแรงมากที่สุด
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ(จาก uroginital diaphragm ฉีกขาด) เรียกว่า Destor’s sign
การดูแลรักษาเบื้องต้น
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ไต, การบาดเจ็บที่ท่อไต, การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ, การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ, การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การตรวจร่างกาย
การดู : รอยจ้ำเลือดบริเวณบั้นเอวหน้าท้องหรือบริเวณฝีเย็บ เลือดออกบริเวณรูเปิดของทางเดินปัสสาวะ
การฟัง : เสียง bruits
การเคาะ : เคาะหากระเพาะปัสสาวะ , เคาะหน้าท้องทั่วไปว่าทึบหรือไม่
การคลำ : การกดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว
วัดรอบท้องตรวจดูภาวะท้องอืด
คลำหาก้อนบริเวณท้องและบั้นเอวและอาจพบการไหลออกของปัสสาวะหรือเลือด(extravasation)
ตรวจทวารหนักเพื่อดูตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
การพยาบาล
4 more items...
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยวิกฤตพร้อมกับมีอาการคุมคามต่อชีวิต โดยจะเป็นกลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ (MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เกิดขึ้นภายหลังจากร่างกายมีการอักเสบที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ (SIRS)
มีการทำลายเซลล์, เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย ซึ่งอาจจะอยู่ไกลออกไปจากที่มีการบาดเจ็บในครั้งแรก จากระบบภูมิคุ้มกันหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้อง จนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ชนิดของ MODS
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion / ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/ Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า : จากอุบัติเหตุ จะพบมีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ประเมินโดย ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
Rapid Trauma Assessment : ตรวจโดยใช้ วิธีการดู (inspect) และการคลำ หรือสัมผัส (Palpate) โดยใช้หลักการ อักษรช่วยจำ DCAP-BTLS
D = Deformities : การผิดรูป
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
T = Tenderness : ตำแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
S = Swelling : อาการบวม
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง : ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย ควรคำนึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
การรักษา ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar , ดึงกระดูกคอ , การผ่าตัด
การบาดที่ทรวงอก
ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง sternocleidomastoid
ถ้าอากาศยังไม่สามารถเข้าปอดได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่ แต่กลับมีส่วนที่ยุบเข้าไปได้ คือ Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space และ Epigastium จะยุบตัวเข้าไปทันที
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก
(Pathophysiology of Chest Injury)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
กลไกการบาดเจ็บที่ทำให้เกิด Flail chest
การหายใจแบบ paradoxical respiration
การรักษาการบาดเจ็บทรวงอก
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade มีอาการสำคัญ เรียก Beck’s Traid : Hypotension,Engorged neck Vein , Distant heart sound
ทำ Pericardiocentesis
นางสาวกนกอร เสริมราษฎร์ เลขที่ 3 รหัสนักศึกษา 61121301003