Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS -…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
ความหมาย สาธารณภัย
เหตุการณ์ใด ๆ ที่เป็นสาเหตุของความเสียหาย ทำลายสิ่งแวดล้อม สูญเสียชีวิต องค์การอนามัยโลก
เหตุการณ์ที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์หรือธรรมชาติ เกิดขึ้นทันทีทันใด และมีผลกระทบต่อชุมชน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ Asian Disaster Preparedness Centre
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อ
ประเภทของสาธารณภัย
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural disaster)
1.1 ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
1.1.1 ภัยแล้ง ( Drouht )
1.1.2 น้ำท่วม (Flooded)
1.2 ตามสภาพภูมิประเทศ : อุทกภัย หิมะถล่ม
1.3 ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก :
แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด
1.4 ภัยทางชีวภาพ : การระบาดของโรค
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์ ( Man-made disaster)
2.1 ภัยจากการพัฒนาประเทศ
2.1.1 การคมนาคม
2.1.2 การอุตสาหกรรม
2.1.3 ไฟไหม้อาคารสูง
2.1.4 สิ่งก่อสร้างถล่ม
2.2 ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty หมายถึง อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
อุบัติเหตุกลุ่มชน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
วัตถุประสงค์ของการจัดการสาธารณภัย
• หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
• ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน รวมถึงการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
• ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ( Emergency Medical System : EMS )
หมายถึง
การจัดให้มีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์ซึ่งมีส่วนร่วมจากทุกภาค ทุกองค์กรในชุมชนทุกระดับ โดยเน้นหนักด้านความรวดเร็ว วิธีการรักษาที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ มีการขนย้ายและการนำส่งผู้เจ็บป่ว
การพยาบาลสาธารณภัย
การดำเนินกิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย บนพื้นฐานองค์ความรู้ และทักษะทางการพยาบาล อย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่น โดยทำงานประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
Safety:
ประเมินความปลอดภัย
Scene:
ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation:
ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me
( Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม
1.1 การปกป้อง
1.2 ประเมินสถานการณ์ภัย
1.3 การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
2.1 การสื่อสาร
2.2 การสั่งการ
2.3 การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
2.4 การักษา
2.5 ขนส่ง
การฟื้นฟูบูรณะ
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางการสาธารณสุข
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Triage มาจากภาษาฝรั่งเศส
แปลว่า การคัดหรือแยก
อ่านว่า ทรี-อาจ / ทริ-แอจ
ผู้ป่วยที่มารับบริการที่หน่วยตรวจฉุกเฉิน แบ่งผู้ป่วยออกเป็นประเภท ได้แก่
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที ได้แก่ ผู้ป่วยหยุดหายใจ หัวใจ
หยุดเต้น ผู้ป่วยช็อก หายใจลำบากมาก เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน เป็นต้น
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง ผู้ป่วย
กลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต แต่หาก
รอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้ ได้แก่
ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก) ผู้ป่วยกระดูกหัก
ผู้ป่วยหอบเหนื่อย(ไม่มาก) ผู้ป่วยปวดท้อง เป็นต้น
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต เป็นต้น
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษา
จะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การรักษาขั้นต้น ในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
Initial Assessment and Management
การเตรียมรับผู้ป่วย แบ่งเป็น
1.1 Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ - airway maintenance - control of external bleeding and shock - immobilization - immediate transport ไปยัง โรงพยาบาล
การเตรียมรับผู้ป่วย
1.2 Inhospital phase เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากร
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
A = Allergies
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
หลักการจำ OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลักการจำ PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
Score Rating Definition
5 Good Recovery Resumption of normal life despite minor deficits
4 Moderate Disability Disabled but independent. Can work in sheltered setting
3 Severe Disability Conscious but disabled. Dependent for daily support
2 Persistent vegetative Minimal responsiveness
1 Death Non survival
ชนิดของ MODS
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion / ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/ Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยวิกฤตพร้อมกับมีอาการคุมคามต่อชีวิต โดยจะเป็นกลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ (MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เกิดขึ้นภายหลังจากร่างกายมีการอักเสบที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ (SIRS)
มีการทำลายเซล, เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย ซึ่งอาจจะอยู่ไกลออกไปจากที่มีการบาดเจ็บในครั้งแรก จากระบบภูมิคุ้มกันหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้อง จนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ทฤษฏี/สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
กระตุ้น macrophages บริเวณที่มีการบาดเจ็บมากเกิน และกระตุ้น neutrophils, endothelial cell ทั่วทั้งร่างกาย ทำให้มีการทำลายอวัยวะที่ห่างไกลจากจุดเกิดเหตุ
Microcirculatory hypothesis
Tissue hypoxia จาก hypotension & shock
Endothelial-Leukocyte Interaction
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดขาว & เซลเยื่อบุผนังด้านในของ
หลอดเลือด
Gut Hypothesis
การบาดเจ็บที่รุนแรงทำให้เกิด gut hypoxia, mucosal leakage ทำให้ bacterial translocation เข้ามาในร่างกายผ่าน portal system เข้าตับ กระตุ้นKupffer’s cells หลั่ง pro-inflammatory cytokines ออกมามากกระจาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
Rapid Trauma Assessment : ตรวจโดยใช้ วิธีการดู (inspect) และการคลำ หรือสัมผัส (Palpate) โดยใช้หลักการ อักษรช่วยจำ DCAP-BTLS
D = Deformities : การผิดรูป
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
T = Tenderness : ตำแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
S = Swelling : อาการบวม
การบาดเจ็บที่ใบหน้า : จากอุบัติเหตุ จะพบมีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ประเมินโดย ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
1.Clear airway
2.Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง : ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
ควรคำนึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ปัญหาการพยาบาล
Obstruct airway
Circulatory failure
IICP
CSF rhinorrhea otorrhea
Skin infection osteomyelitis
Body image change
Malnutrition
Pain
Communication problem
Home health education
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดทรวงอก
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial Cavity)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม (Mediastinum)
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด (Air emboil)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
เกิดได้ในภาวะต่างๆ ดังนี้
1.1 ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.2 ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.3 ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
1.4 ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน