Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็ก ที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, น.ส.สิรินทิพย์…
บทที่ 10 การพยาบาลเด็ก
ที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้น
ประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
พบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก และพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
เป็นชนิดที่พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
แต่พบได้บ่อยในเด็กอายุ 2-5 ปี
อาการ
ซีด
เลือดออก
ติดเชื้อง่าย
เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย
มีจ่ำเขียวขึ้นบนตามตัว
Leukemia หมายถึง
มะเร็งของระบบโลหิตเกิดจากความ
ผิดปกติของเซลล์ต้นกําเนิดที่อยู่ในไขกระดูก
เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
จํานวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วร่างกาย
การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
acute lymphoblastic
leukemia แบ่งได้เป็น
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยทางพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์
การมีประวัติได้รับยาเคมีบําบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน สารฟอร์มาลดีไฮด์
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อม หรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
เซลล์มะเร็งยังสามารถไปสะสมตามอวัยวะอื่นๆ ได้
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทําการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ชนิด
มะเร็งต่อมน้ําเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน
อาการจะเร็วและรุนแรง เมื่อมีการกระจายไปทั่วร่างกาย
อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
เกิดจาก B-cell มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โต
เร็วมากมักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
มะเร็งต่อมน้ําเหลืองชนิดฮอดจ์กิน
พบ Reed-Sternberg cell ซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมน้ําเหลืองชนิดอื่น
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
การตรวจไขกระดูก
CT scan
MRI
Bone scan
การตรวจ PET scan
ตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
หน้าที่
นําสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาวไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
อาการ
พบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ ไม่มีอาการเจ็บ
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ําเลือด
มะเร็งต่อมน้ําเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง
/อาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมี น้ําในช่องท้อง
ติดเชื้อ
อาการเจ็บที่ก้อน
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ําหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ปวดศีรษะ
เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
แนวทางการรักษา
Chemotherapy
Radiation Therapy
Transplantation
ประกอบด้วย
ม้าม
ไขกระดูก
ต่อมทอนซิล
ต่อมไทมัส
มะเร็งไต Wilm Tumor
หมายถึง
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา มีการเจริญผิดปกติ
จนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
ไม่ให้คลําบ่อย เพราะอาจทําให้ก้อนแตก
หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
Neuroblastoma
อาการนําที่มาพบแพทย์
มีก้อนในท้อง
ท้องโต
ปวดท้อง อาการอื่นๆ
ตาโปนมีรอยช้ํารอบตา
มีไข้
ปวดกระดูก
เป็นเนื้องอกที่มีต้นกําเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท
สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
2.ระยะให้ยาแบบเต็มที่
ระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Metrotrexate
6–MP
Cyclophosephamide
การให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว
เพื่อให้ยาทําลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้
Metrotrexate
Hydrocortisone
ARA–C
การให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
เพราะผู้ป่วยโดยทั่วไปหลังการให้ยา มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้งโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีจํานวนเกล็ดเลือดต่ำ ตับ ม้าม โต
1.ระยะชักนําให้โรคสงบ
ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Vincristine
Adriamycin
L–Asparaginase
Glucocorticoid
การให้ยาเพื่อทําลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
และมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด ทําให้ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ
4.ระยะควบคุมโรคสงบ
ยาที่ใช้การให้ 6–MP โดยการรับประทาน
ทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน
การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่
น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล. ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
จํานวนเกร็ดเลือดต่ำ จําเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน ก่อนการให้ยา
ซึ่งวิธีนี้จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง เพราะมีเกร็ดเลือดต่ำมากจะทําให้ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตได้รวดเร็วไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดย
ยับยั้งการสร้าง Purine ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง DNA
และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับ หรือรวมตัว
กับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง ส่งผลทําให้เพิ่มจํานวนไม่ได้
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic
leukemia โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Amikin
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Mesna
ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะ
ปัสสาวะอักเสบจาก Cyclophosphamide
Ceftazidime
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบําบัด
Ondasetron
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วย
มะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวัง
เลือดออกทางหลอดเลือดดำ vein ต้องระวังการรั่วของ
ยาออกนอก หลอดเลือด ที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบเลือด
1.1 เม็ดเลือดแดง : RBC ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด
1.2 เม็ดเลือดขาวต่ำ
1.3 เกร็ดเลือดต่ำ
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ตับ
น.ส.สิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
เลขที่ 38 รุ่น 36/2