Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (Emotion crisis), นางสาวธนัญญา จรบุรมย์ เลขที่ 40 รหัส…
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (Emotion crisis)
ความหมาย
การรับรู้ปฎิกิริยาที่มีผลต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันอันตราย มีสิ่งรบกวนต่อความสำเร็จที่เราได้ตั้งเป้าหมายไว้ในชีวิต ใช้กลไกทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผล และรู้สึกถึงภาวะที่ตนเองไม่สามารถที่จะทนได้อีกต่อไป เกิดความวิตกกังวล ซึ่งระยะเวลาของการเกิดภาวะวิกฤตนั้นอยู่ในระหว่าง ๔-๖ สัปดาห์
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ (Developmental or Maturational Crisis) เป็นภาวะวิกฤตที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงวัยต่างๆ ของกระบวนการเจริญเติบโต เช่น การไปโรงเรียนครั้งแรก เริ่มงานใหม่ แต่งงาน มีบุตรคนแรก การเกษียณ
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
การเกิดของเหตุการณ์เป็นไปโดยไม่ได้คาดคิดมาก่อนที่เรียกว่า Unexpected crisis โดยจะทำให้
บุคคลไม่สามารถปรับตัวได้อย่างทันทีทันใด เกิดอารมณ์แปรปรวน เช่น ความเจ็บป่วย การเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล การตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการ การคลอดก่อนกำหนดหรือบุตรพิการ การว่างงาน การตกงาน การหย่าร้าง ความตาย เป็นต้น
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disester Crisis)
ภัยพิบัติจากธรมมชาติ (Natural Disester) เช่น ซึนามิ น้ำท่วม โคลนถล่ม พายุ แผ่นดินไหว
ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Man Made Disester) เช่น สงครามก่อการร้าย
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
Acknowledgement เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยากขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (precrisis period)
ระยะวิกฤตทางอารมณ์ (crisis period)
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์ (postcrisis period)
ความเข้มแข็งดีกว่าเดิม
ความเข้มแข็งเท่าเดิม
ความเข้มแข็งน้อยกว่าเดิม
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่างๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะนำปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดีใจเย็นและมีสติ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
ผลของภาวะวิกฤต
ความกลัว (Fear)
ความโกรธ (Anger)
ความซึมเศร้า (Depression)
การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง (Potential for Violence)
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อลดอารมณ์เครียดและป้องกันไม่ให้มีความเครียดเพิ่มขึ้น
ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ไขปัญหาในปัจจุบัน (Here and now) เพื่อให้เกิดการสมดุลของอารมณ์
3.เพื่อให้บุคคลสามารถกลับไปทำนห้าที่ได้เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผู้รับบริการ (assessment)
1.1 ผู้รับบริการ (Client) อยู่ในภาวะวิกฤตทางอารมณ์
1.2 การรับรู้เหตุการณ์ของผู้รับบริการ
1.3 มีบุคคลหรือแหล่งสนับสนุนให้การช่วยเหลือ
1.4 ทักษะในการจัดการกับความเครียด (coping skills)
1.5 ความเสี่ยงในการทำร้ายตนเองของผู้รับบริการ
นางสาวธนัญญา จรบุรมย์ เลขที่ 40 รหัส 612701040