Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยารักษาเบื้องต้น, **ไม่ควรทานติดต่อกันเกิน10วันในผู้ใหญ่ 5วันในเด็ก …
การใช้ยารักษาเบื้องต้น
ยาที่ใช้กับหญิงตั้งครรภ์
Category C
(ศึกษาในสัตว์) *ไม่ควรใช้ เช่น Norfloxacin, Gentamicin
Category D *
ไม่ควรใช้ เช่น ยาคลายเครียดบางกลุ่ม(Diazepam, Alprazolam)
Category B
(ศึกษาในสัตว์) เช่น Chlorpheniramine, Paracetamal, Amoxicillin
Category X
(ศึกษาในคนและสัตว์)*ห้ามใช้ เช่น Ergotamine
Category A
(ศึกษาในคน) เช่น วิตามินบี9, โฟลิค แอซิด
1.กลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้ ยาต้านการอักเสบ
กลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์(NSAIDs) *เป็นยาลดการอักเสบ ลดไข้ บรรเทาปวด
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
-Non-stelective NSAIDs ละคายเคื่องกระเพาะอาหาร
*Ibuprofen
มีครบ เช่นลดไข้ ลดปวด อักเสบ
-coxibs / COX-2 inhibitors (Selective)ไม่ละคายเคืองกระเพาะอาหาร
*
ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง โรคหัวใจบวมน้ำ หัวใจวาย โรคไต และโรคตับ
กลุ่มยาแก้ปวด (Analgesics)/ลดไข้(Antipyretics)
Paracetamal/Acetaminophen
*ระงับอาการปวดทั่วไป เช่น ปวดศีรษะ ปวดฟัน ปวดกล้ามเนื้อ ปวดแผล ลดไข้
ขนาดที่ใช้
ผู้ใหญ่
ทานครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก4-6 ชม.
เด็ก
(ต่ำกว่า12ปี) ทานครั้งละ 10-15 มก./กก. ทุก4-6 ชม.
แอสไพริน(Acetylsalicylic acid,Aspirin)
*ลดไข้ บรรเทาอาการปวดทุกชนิด ยดเว้นปวดท้องโรคกระเพาะ ลดการอักเสบ ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน
3.ยาในระบบทางเดินหายใจ (Drugs in Raspiratery system)
2.Anti-histamine *แก้แพ้
-Chiopheniramine,diphenhydarm(ทำให้ง่วง)
-Loratadine (ไม่ง่วง)
3.Cough reliever
แก้ไอ
-Antitussire ไอแห้ง diphenhydramin
ไม่ใช้ในเด็กทำให้ไอไม่ออก เสมหะค้าง
-Expectorats ขับเสมหะ
-Mocolyties ละลายเสมหะ acetyleysteine *ยาแก้พิษพาราเซตามอล
1.Nasai Decongestant
ลดน้ำมูก
-NSdudoe pherine 2mg/kg
ไม่ควรใช้เกิน 5 วันไม่แนะนำใช้ในเด็กต่ำกว่า1ปี, ผู้ใหญ่มากกว่า60ปี, ท้อง ,โรคหัวใจ, HT
4.Bronchodilator ยาขยายหลอดลม
-Adrnaline
-Salbutamoi 0.5%
2.ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร (Antipeptic ulce)
4.H2 Antagonisis ยับยั้งการหลั่งกรด
-Ranitidinr ปลอดภัยในคนท้อง
3..PPls Proton pump inhibitor เคลือบกระเพาะ
-miprazole 20 mg
2..Mucoprotective agents เคลือบกระเพาะ
-Adult กิน1-2 tap
-Chldren กิน 1/2 -1 tap
1.Antacids ลดกรด *ไม่ควรกินพร้อมยาบำรงเลือด ระวัง Pt มีภาวะไตวาย
-Ai-X ยาขับลม
Antiemetic Drug ยาแก้อาเจียน
Prokinetic drugs แก้คลื่นไส้ *กินก่อนอาหาร
-Domperidone (Motilium) ,Metociopramide (Plasil)
non-Prokinetic เมารถเมาเรือ
4.ยาต้านจุลชีพ (Antibiotics classification)
-
Bactericidal
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ เช่น Fluoroquinolones, Aminoglyosides, metronidzole, B-lactam, Vencomycin, fosfomcin
-
Bacteriotatic
ยับยั้งแบททีเรีย เช่น macrolides, Clindamycin, Tetraycline, hloramphenicol
*No ATB nrd except เช่น Age>65, severeillness ป่วยหนัก, ภูมิต่ำ, Septiceim prone เสี่ยงต่อการติดเชื้อ, Uremia มะเร็ง, ควบคุมเบาหวานไม่ได้, ใส่ข้อเทียม
การใช้ยา
-Acute bacterial pharyngtis คออักเสบ เช่น amoxycillin (500)2 tap po od 10 day
-Aute bacterial rhinosinustis เช่น augmentin
-Lower UTI ทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง เช่น Norfloxacin,Ofloxacin -Upper UTI -Infective diarrhea ท้องร่วง เช่น vibrio อหิวา, Shiglla หิด
**ไม่ควรทานติดต่อกันเกิน10วันในผู้ใหญ่ 5วันในเด็ก