Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
Coagulation,Clot
การเกิดการกระตุ้นโปรทรอมบิน (Prothrombin activation) -Intrinsic pathway - Extrinisic pathway
การเปลี่ยนโปรทรอมบินเป็นทรอมบิน ทรอมโบพลาสตินที่เกิดขึ้นจะกระตุ้นการเปลี่ยนโปรทรอมบิน เป็นทรอมบิน
การเปลี่ยนไฟบริโนเจน เป็นไฟบริน ทรอมบินที่เกิดขึ้นจะเปลี่ยนไฟบรินโดยใช้แคลเซียมอิออน และปัจจัยการแข็งตัวของเลือดชนิดต่างๆ ไฟบรินเป็นเส้นใยโปรตีนที่ไม่ละลายน้ำมีการรวมตัวกันแน่นประสาทเป็นร่างแหและยึดจับกับเม็ดเลือดแดงกลายเป็นก้อนเลือด
การเกิดการหดตัวของก้อนเลือด
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
Abdominal discomfort ,fullness
Abdominal pain
Anemia
Angina pectoris
Anorexia
Arthritis
Back pain
การซักประวัติ
Blindness
Bone pain
Brittle nail
Dryness of mouth
Echymosis
ลักษณะอาการเลือดออกที่ผิดปกติ
purpura เป็นภาวะที่มีเลือดออกใต้ผิวหนังหรือออกที่เยื่อเมือก (mucous membrane)ทำให้มีรอยเขียวตามผิวหนัง กดแล้วไม่จางหายไป
ออกเป็นจุดเล็กๆ เรียกว่า petechiae ถ้าออกเป็นจุดปานกลาง เรียกว่า purpuric spot
ออกเป็นจ้ำใหญ่ๆเรียกว่า echymosisหรือที่เรียกกันว่าพรายย้ำ
hematoma ภาวะที่มีเลือดคั่งเป็นก้อน
hemarthrosis ภาวะที่มีเลือดออกในข้อ
epistaxis ภาวะเลือดออกจากจมูก ( เลือดกำเดา )
bleeding per gum ภาวะเลือดออกจากบริเวณเหงือกและไรฟัน
intracrenial hemorrhage ภาวะเลือดออกในสมอง
สาเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือด
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
Idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP)
อาการ
ส่วนใหญ่เลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ โดยไม่มีสาเหตุใดๆนำ
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
hematrocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
หรือเลือดเรื้อรังอาจมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
5.platlet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38-76%
เกล็ดเลือดต่ำกว่า hemostatic level คือ 60ม000 เซลล์/ลบ.มม. รายที่มีอาการรุนแรงมักจะต่ำกว่า 20ม000 เซลล์/ลบ.มม
6.Platlet อายุสั้นสั้นไม่เกิน 1 วัน (ปกติ 9-11วัน)
การรักษา
การรักษาตามอาการ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก เช่นเดียวกับผู้ป่วยเลือดออกง่ายทั่วไป
การห้ามเลือดที่ออกในจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing ถ้ายังออกไม่หยุดทำ posterior nasal packing
แนะนำให้มารดาและผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เป็นสิ่งสำคัญ
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือออกในอวัยวะที่สำคัญๆ เช่นสมอง หรือในการผ่าตัด
การรักษาจำเพาะ
2.1ให้ยา Pednisolone1 - 2มก./กก./วันยาจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
สกัดไม่ให้ระบบreticuloendotheriumทำลายเกล็ดเลือดและออกฤทธิ์ลดการสร้างantibodyต่อเกล็ดเลือด
2.2 ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ( splenectomy)ในรายที่รักษาด้วย Pednisoloneไม่ได้ผลเนื่องจากม้ามเป็นแหล่งที่สำคัญในการทำลายเกล็ดเลือด
Thrombocytopenia
อาการ
Ecchymosis
Purpura
Nosebleeds
Mennorrhagia
Hematuria
Blood in stool
Petechiae
การพยาบาลเมื่อมีเลือดออก
เพื่อช่วยให้เลือดหยุดไหลและป้องกันไม่ให้เลือดออกโดยการ stop bleeding
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ
Snake bite
การเป็นพิษต่อระบบเลือด คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย
viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น Thromboplastic-like
pit-viper พิษงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น Thrombin-like
อาการ
ปวด บวม แดง มีอาการเลือดออกผิดปกติ
การรักษาทั่วไป
รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น ภาวะช็อค anaphylactic shock การหยุดหายใจ
ปลอบใจและให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
ในกรณีที่มีอาการบวมมาก ให้ยกบริเวณนั้นสูง
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ที่ถูกงูพิษต่อระบบประสาทกัด
และไม่ให้ แอสไพรินในผู้ป่วยที่ถูกงูพิษต่อระบบเลือดกัด
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงูจงอางกัด
ใช้ยาที่ครอบคลุมเชื้อทั้งแกรมบวก แกรมลบเละเชื้อไม่พึ่งอากาศ
ควรให้ยากันบาดทะยัก
ในกรณีงูพิษต่อระบบเลือดควรให้หลังจากอาการเลือดออกผิดปรกติดีขึ้น
การให้เซรุ่ม
งูแมวเซา VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 60 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูกะปะ VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 50 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูเขียวหางไหม้ ให้เซรุ่ม 50 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
DIC
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
Response to heparin therapy
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injection sites
Patient and family support
suction โดยใช้ Low pressure
Thalassemia
การรักษา
1.แบบประคับประคอง โดยรักษาตามอาการ และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
1.1 การให้เลือด
1.2 ยาขับเหล็ก
1.3 การตัดม้าม
1.4 กรดโฟลิก (Folic acid)
1.5 การรักษาอาการแทรกซ้อน
1.6 ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและหลีกเลี่ยงยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
2.การรักษาต้นเหตุ
2.1 การปลูกถ่ายไขกระดูก
2.2 การเปลี่ยนยีน
2.3 การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
ภาวะซีดจากภาวะพร่องจี-6-พีดี
อาการ
1.ภาวะซีดเฉียบพลัน
2.ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
1.หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข
2.ให้เลือดชนิด Packed red cell
3.ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
รักษาตามอาการ
ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการสังเกตุอาการผิดปกติ
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
อาการ
2.อาการเหนื่อยง่าย
3.อาการอ่อนเพลีย
อาการซีด
อาการเป็นลม
อาการทางสมอง
อาการหัวใจขาดเลือด
อาการเลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ
อาการในระบบทางเดินอาหาร
ภาวะซีดแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน
1.2 เม็ดเลือดแดงถูกทำลายอย่างเฉียบพลัน
1.3 อาจเกิดจากมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
1.1 เสียเลือดอย่างเฉียบพลัน
2.ภาวะซีดเรื้อรัง
2.2 ลักษณะของธาลัสซีเมียจากหน้าตาและผิวพรรณ
2.3 ลักษณะทางคลินิกของโรคตับ โรคไต โรคเอสแอลดี
2.1 ประวัติการเสียเลือดเรื้อรัง
2.4 ลักษณะทางคลินิกของการขาดสารอาหาร
การพยาบาล
1.พฤติกรรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง
การรับประทานอาหาร
การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคที่เป็นสาเหตุ
การพักผ่อน
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
สาเหตุ
ภาวะซีดจาการกขาดสารอาหารที่จำเป็น
2.ภาวะซีดจากความผิดปกติของเซลล์ที่สร้างเม็ดเลือดแดงหรืออววัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดแดง
3.ภาวะซีดจากพยาธิสภาพของโรคต่างๆ
ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
สาเหตุ
1.การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
ผลของการขาดธาตุเหล็กต่อการทำงานของร่างกาย
ต่อระบบโลหิต มีการเปลี่ยนแปลงของขนาดเม็ดเลือด
ต่อระบบอื่นๆ
2.1 ผลต่อเซลล์ผิวภายในและภายนอกร่างกาย
2.2 ผลต่อภูมิต้านทานของร่างกาย
2.3 ผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน
2.4 ผลต่อการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
2.5 ผลต่อการตั้งครรภ์
2.6 ผลต่อการเจริญเตบโตและพัฒนาการของเเด็ก
การรักษา
2.ให้เหล็กโดยการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก
3.ระมัดระวังผลข้างเคียงยา
1.หลีกเลี่ยงสาเหตุของการเสียเลือด
ให้รับประทานร่วมกับวิตามินซีสูงในมื้อเดียวกัน
ภาวะซีดจากการขาดวิตามินบี12
สาเหตุ
- การดูดซึมผิดปกติ เนื่องจากขาด Intrinsic factor ซึ่งเป็นโปรตีนที่สร้างจากเยื่อบุในกระเพาะอาหาร - การได้รับวิตามินบี12ไม่เพียงพอ
อาการ
อาการของเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การรักษา
ให้รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นม และไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด
1.ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ภวะซีดทำให้ผู้ป่วยอ่อนแรง อาจจะให้พักบนเตียงจนฮีโมโกลบินจะสูงขึ้น
5.ผู้ป่วยหนักมีผลต่อหัวใจและปอดอาจจะต้องให้เลือด ให้ยาดิจิตาลิส ยาขับปัสสาวะ ให้อาหารจืด
ผู้ป่วยที่รักษาด้วยวิตามินบี12
ภาวะซีดอะพลาสติก
สาเหตุ
ภาวะซีดอะพลาสติกเป็นภาวะที่ไขกระดูกล้มเหลวไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้ตามปกติ เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมแต่กำเนิดทำให้เลือดพร่องเม็ดเลือดทุกชนิดสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมและเกิดจากการได้รับสารที่เป็นอันตราายต่อไขกระดูกโดยตรง
อาการ
มีจุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตาหรือเรตินา
การรักษา
การรักษาที่ได้ผลต้องแยกสาเหตุและให้การรักษาอย่างดี เช่น การให้ Packed red cell และให้เลือดชนิดต่างๆ การปลูกถ่ายไขกระดูก
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
Lymphoid และ Myeloid
Lymphocytic leukemia คือการที่พบเซลล์ในสาย Lymphoid
Myelogenous leukemia คือการพบเซลล์ที่ผิดปกติในสาย Myeloid
สาเหตุ
รังสี
ความผิดปกติของโครโมโซม
สารก่อมะเร็ง
ไวรัสบางชนิด
อาการ
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
การรักษา
การสร้างภูมิคุ้มกัน
เคมีบำบัด
ผลข้างเคียงของการรักษา
2.
รังสีรักษา
บริเวณที่ฉายแสงขนหรือผมจะร่วง ผิวบริเวณดังกล่าวจะแห้ง คัน
3.
การปลูกถ่ายไขกระดูก
เสี่ยงติดเชื้อ เลือดออกผิดปกติ
1.
เคมีบำบัด
เซลล์ปกติอาจถูกทำลาย ผู้ป่วยจะคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ผมร่วง เป็นหมัน
การปลูกถ่ายไขกระดูก