Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลว หลายระบบ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะล้มเหลว
หลายระบบ
สาธารณภัย
เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
เกิดกะทันหัน หรือค่อยๆเกิด
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก
เป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกายเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
Mass Casualty
บางคนเรียกว่า Mass Emergency
เป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือ
บาดเจ็บในคนหมู่มาก
อุบัติเหตุกลุ่มชน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
บาดเจ็บไม่เกิน 100 คน
สาหัสหลายราย
ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาล
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน
ไม่สาหัสมาก
สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
บาดเจ็บตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป
รุนแรง
ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง
จากเจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล และหน่วยงานอื่นๆ
พวกระเบิดพลีชีพ
ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
trauma score
blood pressure
pulse rate
glasgow coma score
respiration
capillary filling
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน EMS
มีส่วนร่วมจากทุกภาค ทุกองค์กร
เน้นหนักด้านความรวดเร็ว
การดูแลผู้ป่วยภายใต้การดูแลของแพทย์
วิธีการรักษาถูกต้อง
ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิด
เหตุ
หลักสำคัญของการเข้าช่วยเหลือ
•Scene:ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation:ประเมินสถานการณ์
Safety:ประเมินความปลอดภัย
ลักษณะการทำงาน
Reporting
Response
Detection
Care in transit
On scene care
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติ
I - Incident command
S – Safety and Security
D– Detection
A – Assess Hazards
S – Support
T – Triage/Treatment
E – Evacuation
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
การเตรียมความพร้อม
การคัดแยกผู้ป่วย
สีเหลือง
รอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต
รอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้
ผู้ป่วยฉุกเฉิน
ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก)
สีเขียว
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน
แผลถลอก
ปวดท้องเรื้อรัง ท้องโต
(สัญญาณชีพปกติ)
สีแดง
ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1น.ไม่เกิน 4 น.
ผู้ป่วยด่วนมาก
หัวใจหยุดเต้น
ผู้ป่วยหยุดหายใจ
ผู้ป่วยช็อก
หายใจลำบากมาก เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจ
สีดำ
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวัง
การประเมินสภาวะคร่าวๆ
โดยเร่งด่วน
Primary assessment
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
B ได้แก่ Breathing and ventilation
A ได้แก่Airway maintenance with cervicalspine protection
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe
การเตรียมรับผู้ป่วย
Inhospital phase
ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า
มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์สถานที่ และบุคลากร
เตตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล
การพยาบาลภาวะล้มเหลว
หลายระบบ
มีการทำลายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย
ชนิดของ MODS
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury
ทำให้เกิด impaired perfusion /ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septicshock/SIRS
อาจเป็นสาเหตุเพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue
กลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ(MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่2 ระบบขึ้นไป
ทฤษฏี/สมมุติฐานการเกิด
Microcirculatory hypothesis
Tissue hypoxia จาก hypotension &shock
Endothelial-Leukocyte Interaction
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดขาว & เซลเยื่อบุผนังด้านในของหลอดเลือด
Macrophage theory
และกระตุ้น neutrophils,endothelial cell ทั่วทั้งร่างกาย
ทำให้มีการทำลายอวัยวะที่ห่างไกลจากจุดเกิดเหตุ
กระตุ้น macrophages บริเวณที่มีการบาดเจ็บมากเกิน
Gut Hypothesis
bacterial translocation เข้ามาในร่างกายผ่าน portal system เข้าตับ
การบาดเจ็บที่รุนแรง
กระตุ้น
Kupffer’s cells หลั่ง pro-inflammatory
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
ทรวงอก
พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง
ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่
Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space
การรักษา
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade=Beck’s Traid
Engorged neck Vein
Distant heart sound
Hypotension
คอ
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
อาการแสดง
ปวด
รอยช้ำ
แขนขาชา
ควรคำนึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
ใบหน้า
ตรวจโดยใช้ วิธีการดู คลำ
ใช้ DCAP-BTLS
การรักษา
2.Control hemorrhage
Clear airway
Management of shock
ช่องท้อง
ประเภทของการบาด
Penetrating traumaเป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง
Blunt traumaการให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัดสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
การรักษา
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา
ทำให้สั้นลง
ปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา
ทำให้นิ่งอยู่กับที่ให้มากที่สุด
อวัยวะในช่องท้องโผล่ออกมา
ห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ(หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ใน
ขณะนั้น)
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น
ตับไตม้าม
กระดูกเชิงกราน
การถูกแรงกระแทก จนทำให้ Ligament ฉีกขาดร่วมกับอวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บ
เกิดจากแรงกระแทกด้านเดียวของเชิงกราน และเป็น
สาเหตุที่รุนแรงมากที่สุด
การถูกกระแทกจากทางด้านข้าง ไม่ทำให้ Ligamentฉีกขาดได้
การดูแล
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน
การ Reduction และ Stabilization ทำ External
fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด