Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
Function of Blood
Regulation
Protection
Transportation
เกล็ดเลือด
เป็นองค์ประกอบของเลือดที่มีขนาดเล็กที่สุด ประมาณ 2-4 ไมครอน
เกิดมาจากเซลล์เมกะคาริโอไซต์ในไขกระดูก
กลไกห้ามเลือด
Platelet aggregation
เซลล์ที่ได้รับความเสียหาย และเกล็ดเลือด จะปล่อยสาร ADP ทำให้เกล็ักเลือดเปลี่ยนรูปร่างและรวมตัวกันอุดหลอดเลือดที่บาดแผล
Coagulation, clot
การเกิดการกระตุ้นโปรทรอมบิน
การเปลี่ยนโปรทรอมบินเป็นทรอมบิน
การเปลี่ยนไฟบริโนเจนเป็นไฟบริน
การหดตัวของก้อนเลือด
Vasoconstriction
เมื่อเกิดแผลสารซีโรโทนินจากเกล็ดเลือดจะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
การซักประวัติ
ตึงแน่นท้อง ปวดท้อง
ซีด เจ็บแน่นหน้าอก
คลื่นไส้อาเจียน ข้ออักเสบ ปวดหลัง
มี purpura และ hematoma
เลือดออกตามไรฟัน มีรอยฟกช้ำ
ตาบอด ปวดกระดูก ปากแห้ง มีจุดจ้ำเลือด
เลือดออกผิดปกติ
อาการ
purpura
มีเลือดคั่งเป็นก้อน
มี petechiae
มีเลือดออกในข้อ
มีภาวะเลือดออกจากจมูก
เลือดออกตามไรฟัน
มีภาวะเลือดออกในสมองได้
สาเหตุ
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด
สร้างจากไขกระดูกได้น้อย
เกล็ดเลือดถูกทำลายมาก
เกล็ดเลือดถูกบีบไปอยู่ที่ใดที่หนึ่งมากเกิน
การใช้เกล็ดเลือดมากเกินไป
มีน้ำในร่างกายมาก
ความพร่องในการแข็งตัวของเลือด
ความผิดปกติของหลอดเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Bleeding time
Touniquet test
platelet count
Clot retraction
Venous clotting time
Prothrombin time
Partial thromboplastin time
Thrombin time
Idiopathic thrombocytopenic purpura
เป็นโรคที่มีอาการเลือดออกจากการมีจํานวนเกล็ดเลือดต่ำ
อาการ
GI bleeding
มีเลือดออกตามผิวหนัง
ตับม้าม ต่อมน้ำเหลืองไม่โต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
Hematrocrit ปกติ
WBC ปกติ
พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดมาก
platelet antibody ได้ผลบวก
การรักษา
ห้ามเลือดที่ออกจากจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing
ให้คำแนะนำมารดา
หลีกเลี่ยงการทำให้เลือดออก
ให้เกล็ดเลือดในรายที่รุนแรง
ให้ยา prednisolone
ผ่าตัดเอาม้ามออก
Thrombocytopenia
อาการ
เลือดกำเดาไหล เป็นประจำเดือนมาก
เลือดออกมากับปัสสาวะ ถ่ายดำ
จุดจ้ำเลือด จุดแดง
มี petechiae
การพยาบาลเมื่อเลือดออก
ถ้า 0IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันที
ห้ามฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล ยกไม้กั้นเตียงทุกครัง
งดการแปรงฟัน ให้บ้วนปากแทน
stop bleeding
Snake bite
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจProthrombin time
การตรวจ partialprothromboplastin time
ตรวจ CBC
การตรวจ Thrombin time
Fibrinogen ต่ำ
Fibrin degradation products สูง
Euglobulin clot lysis น้อยกว่า/เท่ากับ 1 ชั่วโมง
การป้องกันปฏิกิริยาของเซรุ่ม
ถ้างูแมวเซากัด ให้ติดตามปริมาณปัสสาวะ ทุก 6 ชั่วโมง
เฝ้าระวังเลือดออก
เตรียมยาแก้แพ้เซรุ่ม
อาการ
มีเลือดออกผิดปกติ
ในกรณี งูแมวเซาทำให้ปวดกล้ามเนื้อ มี ภาวะ DIC ไตล้มเหลว
ปวด บวม แดง ร้อน
ในกรณี งูเขียวหางไหม้ มีอาการเลือดออกผิดปกติ
Skin
อุณหภูมิต่ำ ปวดข้อ
เขียว ชา เนื้อตายจุดแดง
Circulartory system
Pulse ต่ำ
Cappillary filling น้อยกว่า 3 วินาที
หัวใจเต้นเร็ว
Respiratory system
หายใจลำบาก
แน่นหน้าอก
Hypoxia
Breath sound ลดลง
GI
ถ่ายดำ ไอเป็นเลือด
เลือดแแกในช่องท้อง
แสบร้อนกลางอก
Renal system
ปัสสาวะลดลง
BUN,Cr เพิ่มขึ้น
ปัสสาวะเป็นเลือด
Neurogic system
Pupillary reaction ลดลง
Strength and movement ability ลดลง
ปวดหัว
ภาวะแทรกซ้อน
มีการอุดตันที่หลอดเลือด
หัวใจล้มเหลว เกิดการอุดตันที่สมอง
ไตวาย เนิ้อตาย
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงยาที่มีผลต่อเกล็อดเลือด
Monitor v/s, n/s, การไหลเวียน อาการแน่นท้อง ปัสสาวะ เลือดออก
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดความดันสูง เช่น ไอ จาม
Suction low pressure
ห้ามฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ภาวะซีด
สาเหตุ
เม็ดเลือดแดงถูกทำลาย
การเสียเลือด
ขาดสารอาหาร
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การทำงานของไขกระดูกล้มเหลว
จากพยธิสภาพของโรค
การติดเชื้อ สารเคมี
เป็นภาวะที่มีเม็ดเเลือดแดงในร่างกายน้อย
ภาวะซีดจากธาลัสซีเมีย
สาเหตุ
ธาลัสซีเมียเมเจอร์ เป็นความผิดปกติรุนแรงเพราะมีสภาวะโฮโมไซกัส มียีนผิดปกติ
มีการสร้างฮีโมโกลบินเอฟและฮีโมโกลบินแอลฟาทูมาก
พยาธิสภาพ
ร่างกายสร้างสายฮีโมโกลบินลดลงทำให้สายโกลบินเพิ่มสูงขึ้น
อาการ
การเจริญเติบโตช้า
ดั้งจมูกแฟบ ผิวคล้ำ ท้องโต
ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูน
ประเภท
แอลฟ่า -Thalassemia major
ในเด็กทารกหัวใจและตับโต บวมและท้องมานอย่างมาก
เบต้า - Thalassemia minor
ซีดอย่างรุนแรง ม้ามโต มีความผิดปกติของโครงกระดูก
ธาลัสซีเมีย แอลฟ่า trait
ซีดเล็กน้อย ตับม้ามโตเล็กน้อย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การซักประวัติ
การรักษา
กรตัดม้าม
กรดโฟลิก
การให้ยาขับธาตุเหล็ก
การให้เลือด
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การเปลี่ยนยีน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
(G-6-PD deficiency)
สาเหตุ
สารบางอย่าง เช่น ยา aspirin sulfonamides
การถ่ายทอดทางพันยธุกรรมแบบ x-liked ในหญิง Heterocygote
พยาธิสภาพ
มีการแตกแยกของเม็ดเลือดแดง เมื่อคนที่ พร่อง จี-6-พีดี ไปสัมผัสสารบางอย่าง เช่นยา พวก aspirin เป็นต้น
อาการ
ถ่ายปัสสาวะดำ ไตลย้มเหลวเฉียบพลัน
ซีดอย่างเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
การรักษา
ไม่ควรซื้อยารับประทาน
รักษาตามอาการ
ให้เลือด ชนิด PRC
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข
ภาวะซีดจากการเสียเลือด
ระยะของภาวะซีด
ซีดเรื้อรัง
เกิดขึ้นมากกว่า 10 วัน
ซีดชนิดเฉียบพลัน
เกิดขึ้นใน 7-10 วัน
การตรวจร่างกาย
จุดเลือดออกใต้ผิวหนัง
ตรวจดูเยื่อบุต่างๆ
ดูจ้ำเลือดตามผิวหนัง
อาการ
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
เป็นลม หน้ามืด
มีอาการซีด
สมองช้า หลงลืมง่าาย
เจ็บหน้าอก ปวดขา เบื่ออาหาร
การรักษา
รักษาเฉพาะ เช่น พบว่าซีดจากพยาธิปากขอ จะให้ยากำจัดพยาธิ
รักษาทั่วไป ตามอาการ
การพยาบาล
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรค
พักผ่อน และออกกลังกายให้เหมาะสม
รับประทานให้ครบ 5 หมู่
รับประทานยาต่อเนื่อง
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
สาเหตุ
การเสียเลือดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
อาการ
มุมปากอักเสบ กลืนอาหารลำบาก
หน้ามืด สับสน หัวใจล้มเหลว ลิ้นเลี่ยน
ซีด เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ มีการเสียเลือด
ปัสสาวะเป็นเลือด
การวินิจฉัย
การตรวจไขกระดูก
การตรวจดูระบบทางเดินอาหารว่ามีเลือดออกหรือไม่
การวินิจฉัยต้องกำจัดภาวะซีดชนิดอื่นออกก่อน
การรักษา
ให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก
ระมัดระวังผลข้างเคียงของการให้ยา
หลีกเลี่ยงสาเหตุการเสียเลือด
รับประทานวิตามินซีในมื้อเดียวกันเพราะช่วยในการดูดซึม
ภาวะซีดจากการขาดวิตามินบี 12
สาเหตุ
การดูดซึมวิตามิน บี 12 ผิดปกติ
ได้รับวิตามิน บี 12 ไม่เพียงพอ
อาการ
ความจำเสื่อม สับสน ชาที่แขนขา กล้ามเนื้อขาไม่มีแรง
อาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย ลิ้นเลี่ยน
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ทำให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
พยาธิสภาพ
มีการฝ่อของกระเพาะอาหารส่วนต้นทำให้ขาด intrinsic อาจเกิดจากพันธุกรรม
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ริมฝีปาก เหงือกและลิ้นแดง ตาขาวสีเหลือง ตับม้ามโต อ่อนแรง
การควบคุมการขับถ่ายและปัสสาวะไม่ได้
การซักประวัติ ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย เจ็บปาก ชาที่แขนขา ท้องเสีย ท้องผูก
การตรวจทางห้องปฏิบจัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจไขกระดูกพบ erythroid hyperplasia และ megaloblasts
การทดสอบ schilling test
การรักษา
ให้ทานพวก ปลา เนื้อสัตว์ นม ไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด เช่น ferrous sulfate
ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ผู้ป่วยที่รักษาด้วย วิตามิน บี 12 โดยการฉีด อาจมีอาการทางระบบประสาท
ภาวะซีดอะพลาสติก
อาการ
มีเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตา
เม็ดเลือดแดงน้อยกว่า 1 ล้านเซลล์/ลบ.มม.
มีอาการอ่อนเพลีย หายใจลำบาก เลือดออกง่าย
พยาธิสภาพ
เกิดความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดในไขกระดูก เซลล์ต้นกำเนิดมีคุณสมบัตืที่เปลี่ยนแปลงไป เซลล์ฝ่อ ทำให้เซลล์ที่ไขกระดูกลดลง
สาเหตุ
ไขกระดูกล้มเหลวไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมตั้งแต่กำเนิด
เกิดจากการได้รับสารที่เป็นอันตรายต่อไขกระดูก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง หายใจไม่สะดวก
การตรวจร่างกาย จะพบว่าซีด จ้ำเลือด มีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดและการติดสีผิดปกติ
การรักษา
ปลูกถ่ายไขกระดูกในรายที่เม็ดเลือดขาวต่ำ
ให้ PRC
ให้ยาปฏิชีวนะเม่อมีการติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อน มีการเสียเลือดอย่างทันใด และมีการติดเชื้อ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิดเฉียบพลัน
เกิดจากการเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนอย่างรวดเร็ว
ชนิดเรื้อรัง
ร้างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติออกมามากกว่าเม็ดเลือดที่ผิดปกติ
ประเภท
Acute lymphocytic leukemia
Acute myeloid leukemia
Chronic myeloid leukemia
Chronic lymphocytic leukemia
Lymphoid และ myeloid
สาเหตุ
ความผิดปกติของโครโมโซม
สารก่อมะเร็ง รังสี
ไวรัสบางชนิด
อาการ
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
การรักษา
การปลูกถ่ายไขกระดูก
เคมีบำบัด
การสร้างภูมิคุ้มกัน