Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาล อนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาล
อนามัยชุมชน
1.การประเมินสุขภาพชุมชน
2.การรวบรวมข้อมูล
ชนิดข้อมูล
primary data: เก็บข้อมูลด้วยตนเอง
secondary data: ข้อมูลที่ผู้อื่นเก็บ
วิธีการเก็บข้อมูล
สัมภาษณ์
ทั่วไป
เชิงลึก (เหมาะกับข้อมูลส่วนตัว)
สังเกตแบบมีส่วนร่วม
ใช้เก็บข้อมูลพฤติกรรม
เช่น พิธีกรรมต่าง ๆ
ซักถาม
แบบสอบถาม
3.วิเคราะห์ข้อมูล
3ลักษณะ
มีปัญหาหรือความไม่สามารถ (disability)
มีภาวะเสี่ยง (risk)
ไม่มีปัญหา (ability)
1.มีการเตรียมชุมชน
4.การนำเสนอข้อมูล
กราฟวงกลม (แสดงเป็นร้อยละ)
เหมาะกับเปรียบเทียบข้อมูล
กราฟรูปภาพ
กราฟแท่ง
เหมาะกับเปรียบเทียบข้อมูล
กราฟฮีสโตแกรม
เหมาะกับเปรียบเทียบและต่อเนื่อง
กราฟเส้น
เหมาะกับข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง
กราฟแนวโน้ม
พยากรณ์แนวโน้มของข้อมูล
5.การสรุปและแปลผลข้อมูล
หาความเชื่อมโยงเหตุและผล
มองแนวโน้มอนาคต
สรุปบนพื้นฐานในข้อมูลของชุมชน
3.การวางแผนงานโครงการ
การเขียนโครงการ
วัตถุประสงค์
ทำเพื่ออะไร
การเขียนเป้าหมาย (ชัดเจนวัดได้)
ใคร ทำอะไร เท่าไหร่ เมื่อไหร่
หลักการและเหตุผล
ทำไมต้องทำ, ทำไปทำไม
วิธีดำเนินการ
(เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม+พึ่งตนเอง)
ทำอะไร อย่างไร
3 ระยะ
ระยะดำเนินการ
ระยะประเมินผล
ระยะเตรียมการ
ชื่อโครงการ
โครงการอะไร, ทำกิจกรรมอะไร
ระยะเวลาดำเนินการ
ทำเมื่อไหร่
สถานที่ดำเนินการ
ทำที่ไหน
งบประเมิน
ได้จากแหล่งใด, และใช้เท่าไหร่
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทำแล้วได้ประโยชน์อะไร
การประเมินผล
จะวัดผลอย่างไร
2.การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
3.วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาสุขภาพชุมชน
เมื่อได้ปัญหาแล้ว
จัดลำดับแล้ว
ต่อไปคือ
การวิเคราะห์หาสาเหตุ
เขียนในรูป web of cavsation(ใช้กรอบความคิด)
็Host Agent Environment
ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
ปัจจัยนำ
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริม
2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
2.ความรุนแรง
พิจารณาจากอัตราการป่วย อัตราการตาย
อัตราป่วยตย พิการมีมากหรือไม่
การให้คะแนน
26 - 50 %
ให้
2 คะแนน
51 - 75 %
ให้
3 คะแนน
0 - 25 %
ให้
1 คะแนน
76 - 100 %
ให้
4 คะแนน
4.ความวิตกกังวลของชุมชน
พิจารณาจากการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม ประชาคม
การให้คะแนน
26 - 50 % สนใจปานกลาง
ให้
2 คะแนน
51 - 75 % สนใจมาก
ให้
3 คะแนน
0 - 25 % สนใจน้อย
ให้
1 คะแนน
76 - 100 % สนใจมากที่สุด
ให้
4 คะแนน
1.ขนาดของปัญหา
พิจารณาจากจำนวนผู้ที่ประสบปัญหาหรือได้รับผลกระทบ
การให้คะแนน
26 - 50 %
ให้
2 คะแนน
51 - 75 %
ให้
3 คะแนน
0 - 25 %
ให้
1 คะแนน
76 - 100 %
ให้
4 คะแนน
3.ความยากง่าย
พิจารณาจากด้ายวิชาการ ความรู้ บุคลากร ทรัพยากร
การให้คะแนน
ยาก
ให้
2 คะแนน
ง่าย
ให้
3 คะแนน
ยากมาก
ให้
1 คะแนน
ง่ายมาก
ให้
4 คะแนน
1.การระบุปัญหาสุขภาพชุมชน
สมการ: ปัญหา = (สื่งที่ควรจะเป็น (ดัชนีชี้วัดสุขภาพ)- สิ่งที่เป็นอยู่(ข้อมูลที่ได้จากการประเมิน)) * ความตระหนัก(ความสนใจ,ความร่วมมือของชุมชน)
ค้นหาปัญหาโดย
หลัก 5 D
พิการ/การไร้ความสามารุถ(Disability)
โรค (Disease)
ตาย (Daeth)
ความไม่สุขสบาย (Discomfort)
ความพึงพอใจ (Dissatisfaction)
เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
จปฐ.
อัตราป่วย
แผนพัฒนาฯ
อัตราตาย
กระบวนการกลุ่ม
ชุมชนร่วมกัน ตัดสินใจว่าปัญหาของชุมชนคืออะไร
เสนอเสียงสนับสนุนรับเรื่องปัญหา
4.ปฏิบัติตามแผน
ปฏิบัติตามโครงการที่วางแผนไว้ (ผสมผสานหลายหน่วยงาน,
กระตุ้นชุมชนมีส่วนร่วม, ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเหมาะสม,
จัดบริการครอบคลุมผู้รับบริการ)
5.การประเมินผล
Formative evaluation (Input, process)
ประเมินความก้าวหน้า
ดูกิจกรรมเป็นไปตามเวลาที่กำหนดไหม
ความพอเพียง: โครงการแก้ไขครอบคลุมไหม,
คุ้มค่างบประมาณไหม (กรณีกลุ่มเป้าหมายมาน้อย)
ประเมินก่อน/ขณะทำโครงการ
Summative evaluation (Output)
ประสิทธิผล (effiectiveness)
เทียบกับเป้าหมาย
ผลกระทบ
ผลดี: ประโยชน์ต่อส่วนรวม
ผลเสีย: อุบัติเหตุมีไหม
ประสิทธิภาพ (efficiency)
เทียบกับการลงทุน