Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
บทที่ 3
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการกระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
พ.ศ. 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา คือ กายภาพบำบัดและเทคนิคการแพทย์ ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง
พระราชบัญญัติ การแพทย์ พ.ศ. 2466 โดยในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการออกกฎหมายขึ้นควบคุมการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพแก่ประชาชน
จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2528 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528”
ประเทศไทยได้มีพัฒนาการมากกว่า100 ปี และมี กฎหมายที่มีความสัมพันธ์กันหลายฉบับ
“พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540”
ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 114 ตอนที่ 75ก วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 จวบจนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
องค์ประกอบของนิติกรรม
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย
มุ่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล เช่น สัญญาจ้างพยาบาลพิเศษ
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
การสาบสูญ
นิติบุคคล
สิ่งซึ่งกฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล
เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย และภายในวัตถุประสงค์ที่จดทะเบียน
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ
ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วน บริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น เช่น วิธีฟ้อง ศาลที่ฟ้อง
วิธีพิจารณาของศาลตลอดจนการบังคับให้ฝ่ายที่ผิดปฏิบัติ ตามคำพิพากษา เป็นต้น
กฎหมายแพ่ง
กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน และ สามารถต่อรองเพื่อตกลงกระทำการใดๆ ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
โมฆียกรรม
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
อายุความ
ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กำหนด ศาลจะมีคำสั่งยกฟ้องได้
ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
ตัวอย่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้นซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๕ ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๙ การใดๆ อันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมฆียะ
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำ
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
อายุความ
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
์เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย
รักษาโครงสร้างของสังคมให้มั่นคง คุ้มครองความปลอดภัย รักษาความสงบสุขให้แก่สมาชิกในชุมชน และป้องกันความเสียหายต่อสังคม
บัญญัติว่าการกระทำใดเป็นความผิด และกำหนดโทษอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
3) ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
4) ความบกพร่องด้านการบันทึก
2) ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
5) ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
1) ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
6) ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
การทำให้หญิงแท้งลูก
ตัวอย่างประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดะฆ่าผู้อื่นต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี
มาตรา ๓๐๑ หญิงใดทำให้ตนเองแท้งลูก หรือยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูก ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา ๓๐๔ ผู้ใดเพียงแต่พยายามกระทำความผิดตามมาตรา ๓๐๑ หรือมาตรา ๓๐๒ วรรคแรก ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
มาตรา ๑๙ ๑๖ ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย หลักเกณฑ์และวิธีการประหารชีวิตให้เป็นไปตามระเบียบที่กระทรวงยุติธรรมกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา