Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกค้าง รกติด - Coggle Diagram
ภาวะรกค้าง รกติด
-
-
สาเหตุ
การขาดกลไกการลอกตัว
-
รกผิดปกติ ถึงแม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ
แต่รกไม่สามารถลอกออกมาได้เนื่องจากภาวะรกติด (placenta adherens)
-
รกปกติมีดีซิดัวส์ (deciduas) แทรกอยู่ระหว่างอินเตอร์วิลลัส สเปซ(intervillous) ที่เรียกว่าดีซิดัวส์ เซบตัม (deciduas septum)
-
-
การขาดกลไกการขับดัน
-
รกลอกตัวแล้ว และผ่านโพรงมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอด เนื่องจากมารดาไม่เบ่งผลักรกที่ลอกตัวแล้ว ให้คลอดออกมาเองตามธรรมชาติของการคลอดรก
อื่นๆ
-
-
เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกิดรกค้าง เช่น ผ่าท้องคลอด ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกจากโพรงมดลูก (myomectomy ) หรือเคยขูดมดลูก
-
การรักษา
- ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวและคลายตัวเป็นระยะ ๆ ได้ดีขึ้น ช่วยส่งเสริมกลไกการลอกตัวของรก ทำให้รกลอกตัวออกมาได้
- ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก ได้แก่ ให้ยาอดรีนาลีน (adrenalin) 1:1,000 จำนวน 0.3-0.5 ซี.ซี. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้ยา 20% แมกนีเซี่ยม ซัลเฟต (20% magnesium sulphate) 20 ซี.ซี. ฉีดเข้าเส้นโลหิตช้า ๆ
- ถ้าให้ยาแล้วไม่อาจช่วยให้รกลอกตัวสมบูรณ์ และรกไม่สามารถคลอดออกมาได้ แสดงว่ารกฝังตัวลึกต้องช่วยเหลือด้วยการล้วงรก (manual removal of the placenta)
ผลกระทบ
มารดา
- ตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากรกไม่ลอกตัว และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
- เกิดการติดเชื้อหลังคลอดได้ เนื่องจากชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก หรือจากการล้วงรก
- มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง เนื่องจากรกฝังตัวลึกกว่าปกติ
- กรณีถูกตัดมดลูก (hysterectomy) จะทำให้หมดโอกาสที่ตั้งครรภ์ต่อไป โดยเฉพาะมารดาที่อายุน้อยและยังต้องการมีบุตร
-
ประเมินสภาพ
-
-
ในกรณีที่มีเศษรกค้าง ตรวจพบดังนี้มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมากภายหลังรกคลอดตรวจรกพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรกขาดหายไป
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของการช็อกจากการเสียเลือดมาก
ภาวะที่รกไม่คลอดภายใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอดโดยทั่วไปรกจะคลอดภายใน 10 นาที หลังจากที่ทารกคลอดแล้ว และไม่ควรเกิน 30 นาที ส่วนใหญ่ ร้อยละ 90 รกจะคลอดภายใน 15 นาที มีเพียงร้อยละ 2-3 เท่านั้นที่รกคลอดใช้เวลานานเกิน 30 นาที