Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลล์เจริญผิดปกติ, นางสาวรติมา มณีคำ เลขที่ 17…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
acute lymphoblastic leaukemia
ความหมาย
ทำให้เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นแต่เม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
จึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
Stem cell ที่อยู่ในไขกระดูกเกิดแบ่งตัวที่ผิดปกติไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก คือ ALL
ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia (พบบ่อย)
cellที่ผิดปกติจะออกมาในกระแสเลือดในรูปของ Blast cell ซึ่งเป็นเซลเม็ดเลือดขาวตัวอ่อน
ผลคือทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือดลดลง อาการ คือซีดเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เลือดออกง่าย ติดเชื้อได้ง่าย
เมื่อแบ่งตัวเร็วและคุมไม่ได้ในไขกระดูกจึงมี blast cell มากในไขกระดูก
ชนิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
เป็นชนิดที่พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็ก/ผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
พบได้ทุกช่วงวัย แต่พบมากใน 2-5 ขวบ
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
ครอบครัวที่มีคนเป็น ALL มีโอกาสเป็นมากกว่าคนปกติ 2-4 เท่า
ฝาแฝดที่เป็น ALL ตั้งแต่เด็ก ทำให้แฝดอีกคนมีโอกาสเป็นได้
เด็กที่เป็น Down’s syndrome มีความเสี่ยงเป็น ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ด้านสิ่งแวดล้อม
เคยมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิดซึ่งจะทำให้มีโอกาสเป็นมากกว่าคนปกติ โดยเฉพาะสารเบนซิน สารฟอร์มาลดีไฮด์
มีประวัติได้รับสีไออนไนซ์ ซึ่งจะได้รับที่ยังอยู่ในท้องแม่เพราะเป็นรังสีรักษา
ได้รับพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
เซล์มะเร็งจะไปสะสมตามอวัยวะอื่นๆได้ เช่น ตับม้าม ต่อมน้ำเหลือง ทำให้ผู้ป่วยมีต่อมน้ำเหลือง ตับ ม้ามโต
อาการ
เลือดออกง่าย เช่น ตามไรฟัน มีจ้ำเขียวตามตัว หรือมีประจำเดือนมากผิดปกติ
อาการแรก → เบื่ออาหาร น ้าหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เม็ดเลือดขาวมีเยอะแต่ผิดปกติเลยทำให้ติดเชื้อง่าย มีไข้เป็นอาการสำคัญ
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ หรือไปสะสมตามอวัยวะเลย
ทำให้มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือมีตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือด→ตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted →เพื่อให้ชัดเจนว่ามีการแบ่งตัวที่ผิดปกติในไขกระดูกจริงหรือไม่
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง Lymphoma
การวินิจฉัย
CT scan
MRI
ตรวจไขกระดูก เพื่อดูว่ากระจายไปที่ไขกระดูกเปล่า
ตรวจกระดูก
การตัดชิ้นเนื้อ (Biopsy)
ตรวจ PET scan เพื่อหาเวลล์มะเร็ง
อาการ
อาการเริ่มต้น
ที่พบบ่อย
คลำพบก้อน เช่น คอ รักแร้ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่เจ็บ
เมื่อติดเชื้อ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วตัว
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
เจ็บที่ก้อน
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง มักจะมีอาการแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องโต
แนวทางการรักษา
ฉายรังสี (Radiation Therapy) เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
ใช้ยาเคมี (Chemotherapy)
คือ
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ ต่อมน้ำเหลืองที่คอ(Cervical Lympnode)
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน พบต่อมน้ำเหลืองจะโตเป็นปี ไม่เจ็บ มีลักษณะเฉพาะ คือ เจอ Reed-Sternberg cell ซึ่งในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่นไม่มี
น้ำเหลือง มีหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาวไปยังส่วนต่างของร่างกาย
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน อาการจะเร็วและรุนแรง อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส
Burkitt Lymphoma มีต้นกำเนิดมาจาก B-cellมีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
ระบบน้ำเหลืองเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
Neuroblastoma
เนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุ< 5 ปี
เนื้องอกที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท สามารถเกิดที่ใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
เช่น ต่อมหมวกไต(adrenal gland)ในท้อง
อาการที่ต้องมาหาหมอ
ท้องโต
ปวดท้อง
มีก้อนในท้อง
อาการอื่นๆ
มีไข้
ปวดกระดูก
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดี มีอัตราการตายสูง
มะเร็งไต
Wilm Tumor/Nephroblastoma
หมายถึง
เนื้อไตชั้นพาเรนไคมาเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกในเนื้อไต มีขนาดใหญ่ คลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
จะไม่ให้คลำบ่อย เพราะจะทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษา
ให้ยาแบบเต็มที่ (intensive phase)
คือการให้ยาหลายชนิดร่วมกันให้หลังจากระยะโรคสงบแล้ว เพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุดระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้ - Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
คือ ให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพราะผู้ป่วยโดยทั่วไปหลังการให้ยา มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้ง โดยเฉพาะPt เกล็ดเลือดต่ำ ตับม้ามโต
ยาที่ใช้ - Metrotrexate, Hydrocortisone และ ARA – C
ชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ให้เร็วที่สุดและมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด ทำให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดขาวได้ปกติ ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้ - Vincristine, Adriamycin,L – Asparaginase และ Glucocorticoid
ควบคุมโรคสงบ (maintenance phase)
คือ ให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่ใช้ - 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การให้ยาเคมีบำบัด
ทางกล้ามเนื้อ(IM) หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein (IV) ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal (IT)
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อยๆ
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน โดยยับยั้งการสร้าง Purine และกรดนิวคลีอิก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้างDNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับDNAเซลล์มะเร็ง ทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด ALL โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
การรักษาประคับประคอง
เป็นการรักษาโรคแทรกซ้อน และอาการข้างเคียงจากการให้ยาทำควบคู่กับการรักษาแบบจำเพาะ เพื่อให้ผลการรักษาที่มีประสิทธิภาพ แบ่งเป็น 2 แนวทาง
การรักษาทดแทน
การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
ถ้าหากเลือดออกเกร็ดเลือดต่ำจำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อนก่อนการให้ยา
ยาป้องกันภาวะแทรกซ้อนของยาเคมีบำบัด
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
Ceftazidime(fortum)
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Ondasetron(onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Amikin
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Mesna
ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็ง - Cyclophosphamide
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ระบบผิวหนัง
ทำให้ผมร่วงหลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 wks และจะขึ้นใหม่หลังหยุดยา 2-3 เดือน แต่ผมที่ขึ้นใหม่จะไม่เหมือนเดิม
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาเคมีบำบัดทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ Cystitis
การดูแล
ต้องได้รับน้ำที่มากพอทางหลอดเลือดดำและทางปาก และต้องปรับให้ปัสสาวะมีฤทธ์เป็นด่างเพื่อให้การขับยาออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ 7.5% NaHCO3
ติดตามค่าsp.gr ให้ต่ ากว่า 1.010 และค่า PH ของปัสสาวะสูงกว่า 6.5-7 (สภาพความเป็นด่าง)
ระบบทางเดินอาหาร
อาการ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
แผนการรักษา
ให้ยาOnsia (ondansetron) ทางIV
การดูแล
ป้องไม่ให้ติดเชื้อในปาก
โดยให้บ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่องทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรืออาจจะทุก 2 ชั่วโมงในรายที่มีแผลในปาก
ในPtที่ภาวะภูมิต้านทานต่ำต้องป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารด้วยการให้ผู้ป่วยรับประทาน Low Bacterial diet คืออาหารที่สุกสะอาดและปรุงเสร็จใหม่ๆ
ตับ
ยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับ เช่น Methotrexate, Vincristine
ถ้ามีอาการ ตัวตาเหลือง , อ่อนเพลีย, ปวดชายโครงด้านขวา, ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวมสามารถตรวจติดตามโดยการเจาะเลือดดูการทำงานของตับเป็นระยะ
ระบบเลือด
เม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia)
ประเมินได้จากค่า ANC
แบ่งเป็น 3 ระดับ
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC < 500 เซลล์/ลบ.มม.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรง ในรายที่ ANC < 100 เซลล์/ลบ.มม.เป็นภาวะที่เม็ดเลือดขาวต่ำระดับรุนแรงมากเสี่ยงติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบในกระแสเลือด รวมไปถึงการติดเชื้อรา ต้องให้เด็กไว้ในห้องแยก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อยANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม. เสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น งดให้เคมีบำบัด
เกร็ดเลือดต่ำ
<100,000/mm3เกิดภาวะเลือดออกง่ายกว่าปกติ ถ้า<50,000เซลล์/ลบ.มม.จะเสี่ยงต่อการเกิดอาการเลือดออกง่ายหยุดยาก และ<10,000 เซลล์/ลบ.มม.มีโอกาสเลือดออกที่สมองและทที่เดินอาหาร
เม็ดเลือดแดง
RBC ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด (Anemia)
เมื่อระดับค่า Hb อยู่ที่ 8-10 gm/dl Hct 24-30 gm/dl
การวางแผนการดูแล
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
งดอาหารที่ลวก ย่าง รวมทั้งผักสดผลไม้ที่มีเปลือกบาง เช่น ชมพู่ องุ่น ฝรั่ง ดื่มนมที่ผลิตด้วยวิธีสเตอริไลส์ และUHT แทนการดื่มนมพลาสเจอร์ไลด์
ไม่กินอาหารแกงถุงให้กินตามสั่งดีกว่าที่ทำสดใหม่
Low Bacterial Dietโดยให้มีคุณค่าครบถ้วน แคลอรีและโปรตีนสูง
การดูแลปัญหาซีด
หลังได้รับยาเคมีบำบัด เม็ดเลือดแดงลกลงทำให้ซีด
รักษาโดยการให้เลือด(Pack Red Cell) ก่อนให้เลือดหมอจะให้ยา Pre-med คือ PCM CPM และ lasix
การดูแล
ติดตาม V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15 นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1⁄2 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable
ดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง หลังจากนั้นติดตามค่า Hct
หลังให้เลือดหมด แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง
หลังให้เลือดต้องเฝ้าระวังภาวะชักจากความดันสูง(HCC)
ป้องกันการเกิดแผลในปาก
ถ้าได้รับยา Xylocaine Viscus เพิ่ม จะต้องให้ครั้งละ 1 ml ให้ผู้ป่วยอมไว้ ประมาณ 2-3 นาทีและบ้วนทิ้งไม่ควรกลืนเนื่องจากมียาชาเป็นส่วนผสม
ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับยาฆ่าเชื้อราในปาก Nystatin oral suspentionต้องดูแลให้ผู้ป่วยเด็กอมยาไว้ในปาก 2-3 นาที สามารถกลืนได้ ไม่ต้องให้น้ำตาม (เพื่อให้ยาค้างในช่องปากนานๆ) และต้องให้หลังให้นม เพราะถ้าให้ก่อนให้นม เด็กดูดนมยาก็จะไปกับนม ไม่ค้างในปาก
ถ้าเกร็ดเลือด < 50,000 cell/cu.mm จะไม่ให้แปรงฟัน แต่ถ้าเกร็ดเลือดมากกว่านี้สามารถแปรงฟันได้ แต่ต้องใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม
บ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่อง
การป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
หลักการให้คือให้หมดภายใน 1⁄2 -1 ชั่วโมง เนื่องจากมี half life สั้น การให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
ก่อนให้ผู้ป่วยจะได้รับ Pre-med คือ PCM CPM และ lasix
แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration
ระหว่างให้ต้องติดตาม V/S อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับการให้เลือด
การดูแลหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านทาง IT
หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
ซึ่งการนอนราบนั้นผู้ป่วยจะสามารถพลิกตะแคงตัวได้ตลอด แต่ต้องแนะนำญาติดูแลไม่ให้ผู้ป่วยลุกขึ้นนั่งในช่วงเวลาที่กำหนด
ให้ยาแพทย์จะต้อง เอาน้ำไขสันหลังออก=จำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
Tumorlysis Syndrome (TLS)
เกิดจากการสลายของเซลล์มะเร็งจำนวนมากอย่างรวดเร็ว แล้วสลายออกมาเป็น เช่น กรดนิวคลีอิก โพแทสเซียม และฟอสฟอรัสเข้าสู่กระแสเลือดอย่างมากภายในระยะเวลาสั้น
อาจทำให้เกิดความผิดปกติของ electrolyte
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
มักพบในช่วง 12-24 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
อาจทำให้เกิดภาวะที่หัวใจเต้นผิดจังหวะและเสียชีวิต
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
มักพบในช่วง 24-48 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
ทำให้เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำได้และส่งให้เกิดการชักเกร็งหัวใจเต้นผิดจังหวะและชักได้
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง
มักพบในช่วง 48 – 72 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เป็นระหว่างการทำ chemotherapy
เกิดขึ้นเองได้ในผู้ป่วยที่มีปริมาณเซลล์มะเร็งจำนวนมาก และเป็นมะเร็งชนิดที่มีความไวต่อเคมีบำบัด
อาการและอาการแสดง
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง - กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชา หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือออาจเสียชีวิตได้
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงและภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ - กล้ามเนื้อตะคริว ชักเกร็ง ชัก ไตวายและหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง - ง่วงซึม
การวินิจฉัย
วินิจฉัยจากอาการทางคลินิก ร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ภาวะ Febrile neutropenia
ภาวะที่ผู้ป่วยมีเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลในเลือด < 500 เซลล์/ลบ.มม.หรือมีANC <1000 เซลล์/ลบ.มม.แต่มีแนวโน้มว่าจะลดลงจน< 500 เซลล์/ลบ.มม.
จำนวนเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลในเลือดลดลงหรือการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การรักษา
การใช้ยาต้านเชื้อรา (antifungal therapy)
ผู้ป่วยที่มีภาวะนิวโทรพีเนียนานกว่า 1 สัปดาห์ มีโอกาสเกิด systemic fungal infectionสูง
แพทย์จะพิจารณาให้ยาต้านเชื้อรา ได้แก่ amphotericin B
ใช้ดีแต่มีผลข้างเตียงต่อเด็กคือ
พิษต่อไต ทำให้ creatinine ในเลือดสูงขึ้นและเกิดโรคไตผิดปกติในการขับกรด
ผลข้างเคียงอื่น คือ มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้/อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ ชัก ระดับโปตัสเซียมและแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
การใช้ granulocyte colony-stimulating factor(G-CSF)
อาจจะช่วยลดระยะเวลาของการเกิดภาวะนิวโทรพีเนีย หลังการได้รับยาเคมีบำบัด
นางสาวรติมา มณีคำ เลขที่ 17 รุ่น 36/2 รหัสนักศึกษา 612001097