Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ, นางสาวประภัสรา สร้อยทอง เลขที่ 34 รุ่น…
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลกรณีศึกษา
อาการสำคัญ
:star: หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก 2 hr. PTA
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
:star:
2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ
2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำ ๆ ไอแห้ง ๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลากลางคืน
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
:star:
7ปีที่แล้ว มีประวัติพ่นยามาตลอด โดยจะพ่นยาบ่อยในตอนทำกิจกรรม มักมีอาการหายใจเหนื่อยและมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วย
5 ปีที่แล้ว มีอาการบวมที่เท้าเล็กน้อย
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว
:star:คุณตาเป็นโรคหอบหืด หัวใจ
เบาหวานและความดันโลหิตสูง
ประวัติส่วนตัว
:star: ชายไทยอายุ 19 ปี ให้ประวัติว่ามีไข้ต่ำ ๆ ไอแห้ง ๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ มา 2-3 วัน รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก2 ชม.ก่อนมา (นั่งรถเข็นมาเนื่องจากเดินไม่ไหว) มารดาพามาที่ ER ให้ประวัติว่าลูกชายแข็งแรงดีมาตลอด แต่ประมาณ 2 เดือนที่แล้ว มีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ มีพฤติกรรมที่ชอบเล่นกีฬานั่นคือ บาสเกตบอล เวลาเล่นกับเพื่อน เพื่อนจะมองว่าตัวเองเป็นตัวถ่วงของทีม มักพ่นยาเป็นระยะ ๆ ยกเว้นเวลาทำกิจกรรม จะพ่นบ่อยขึ้นไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่
การตรวจร่างกาย
:star: T= 37.7 องศาเซลเซียส PR= 112-116 ครั้ง/นาที R= 28-30 ครั้ง/นาที O2sat= 95%คอแดงเล็กน้อย หายใจมี suprasternal retraction ลักษณะการหายใจมีปีกจมูกบาน conjunctiva ซีดเล็กน้อย ปลายนิ้วเริ่มเขียว capillary refill 4 sec ฟังปอดได้ยิน เสียง Crepitation both lung ผล Chest x - ray พบ infiltration เล็กน้อย EKG ผล normal ต่อมน้าเหลืองไม่โต มีบวมที¬ปลายเท้าเล็กน้อย มีน้ำหนักลด 2 kgใน 1 สัปดาห์
Problem list
ไข้ ไอ เหนื่อย
แน่นหน้าอก หายใจเหนื่อยหอบ
Differential Diagnosis
Asthma
:check:
สาเหตุ
หลอดลมมีภาวะไวต่อการกระตุ้นจากสารก่อภูมิแพ้พันธุกรรม
อาการ
ไอเรื้อรังนาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักลด เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย มีไข้
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยิน เสียงหวีด (wheeze) เขียว หัวใจเต้นเร็วหน้าอกโป่งหายใจหน้าอกบุ๋ม
การตรวจพิเศษ
CBC, การวัด FVE1, วัด PEF, Spirometry
Tuberculosis
:red_cross:
สาเหตุ
ติดเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis ที่สามารถแพร่กระจายได้ทางอากาศโดยผ่านทางการไอ จาม การพูด และการหายใจ
อาการ
ไอแน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หรือหอบเหนื่อยเกิดขึ้นเมื่อได้รับสารก่อโรค
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation
การตรวจพิเศษ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอกต้องทําร่วมกับการตรวจเสมหะหาเชื้อวัณโรค
Bronchitis
:red_cross:
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัส การสูบบุหรี่ มลภาวะทางอากาศ ฝุ่น ก๊าซพิษ ในสิ่งแวดล้อมทีต้องพบในชีวิตประจําวัน
อาการ
อาจมีไข้หรือไม่มีก็ได้แต่จะมีอาการไอ ระยะแรกจะไอแห้ง ๆ เสียงก้อง ต่อมาจะมีเสมหะขาวข้น เปลี่ยนเป็นสีเหลืองขุ่นหายใจลําบาก หอบเหนื่อย
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียง (rhonchi) (wheezing )
การตรวจพิเศษ
chest X-ray, Spirometry, เพาะเชื้อจากเสมหะ
Pneumonia
:red_cross:
สาเหตุ
ติดเชื้อจากแบคทีเรีย , เชื้อรา, ไวรัส
อาการ
น้ำมูกไหล จาม คัดจมูกนํามาก่อน ไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบเหนื่อย อาจจะมีอาการเจ็บหน้าอกตําแหน่งที่เจ็บมักตรงกับบริเวณที่อักเสบ อาการไอ
ตรวจร่างกาย
ฟังเสียงปอดพบ crepitations อาจได้ยิน เสียง rhonchi ร่วมด้วย
การตรวจพิเศษ
WBC, การตรวจเสมหะเพาะเชื้อ , hemoculture
COPD
:red_cross:
สาเหตุ
การสูดดมควัน ฝุ่น หรือสารเคมี การทํางานในสภาพแวดล้อมที่ต้องหายใจเอาฝุ่นผง ละอองสารเคมี ในปริมาณมากและติดต่อกันเป็นเวลานาน
อาการ
ไอเรื้อรัง มีเสมหะมากโดยเฉพาะในช่ว งเช้าหลังตื่นนอน รู้สึกเหนื่อยหอบ หมดเรี่ยวแรง หายใจลําบาก แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด
ตรวจร่างกาย
ผิวกายเขียวคล้ำ การหายใจเกินการขยายของทรวงอกขณะหายใจเข้าออกลดลง กระบังลมแบนต่ำ
การตรวจพิเศษ
Spirometry, FVC
DHF
:red_cross:
สาเหตุ
ยุงลายเป็นตัวพาหะกัดและดูดเลือดของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี แล้วถ่ายทอดเชื้อไปสู่คนที่ถูกกัดได้
อาการ
ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก มีผื่น จุดเลือดออกที่ผิวหนัง
ตรวจร่างกาย
จุดเลือดออกที่่ผิวหนัง เลือดกําเดาไหล tourniquet test ให้ผลบวก
การตรวจพิเศษ
CBC, (IgM), NS1 A
MI
:red_cross:
สาเหตุ
เลือดที่จะไหลเวียนไปยังหัวใจถูกขัดขวาง หัวใจไม่ได้รับเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยง กล้ามเนื้อหัวใจก็จะเสื่อมสภาพและเริ่มตาย
อาการ
รู้สึกบีบรัดและแน่นอึดอัดเหมือนมีอะไรมาทับที¬บริเวณกลางหน้าอก หรือส่วนบนของร่างกาย อาจมีอาการปวดร้าวไปตามแขนคอ กราม
ตรวจร่างกาย
ชีพจรเบาเร็วหายใจได้ยินเสียง Murmur ฟังปอดได้ยินเสียงCrepitation
การตรวจพิเศษ
ECG, Biochemical markers, Careliac biomarkers, Troponin, CK, CBC
Hyperthyroid
:red_cross:
สาเหตุ
ต่อมไทรอยด์ทํางานมากผิดปกติ
อาการ
ไข้ ต่อมไทรอยด์โต คลําที่ต่อมไทรอยด์จะรู้สึกเจ็บ น้ำหนักลด
ตรวจร่างกาย
Warm and moist skin, anycholysis
การตรวจพิเศษ
TSH, free T4, free T3, total T3
Influenza
:red_cross:
สาเหตุ
ได้รับเชื้อไวรัสกลุ่ม Influenza Virus ผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น¬ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดกระบอกตา ตาแดง คัดจมูก น้ำมูกไหล
ตรวจร่างกาย
ปวดตามแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบตา ไข้สูง 39-40 c เจ็บคอและคอแดงมีน้ำมูกใสไหล ตามตัวจะร้อน แดง ตาแดง
การตรวจพิเศษ
throat swab, nasopharyngeal aspirate
Common cold
:red_cross:
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส
อาการ
ไข้ต่ำๆ คัดจมูก น้ำมูกไหล จาม เจ็บคอ
ตรวจร่างกาย
เยื่อบุจมูกบวมและแดง คอแดงเล็กน้อย ทอนซิลบวมแดง
วิเคราะห์เคสกรณีศึกษา
สาเหตุ
:pencil2:
ได้รับสารก่อภูมิแพ้ โดยมีตัวกระตุ้นคือสารระคายเคืองและมลภาวะผู้ป่วยได้สูดควันไฟ
ผู้ป่วยเล่นบาสเก็ตบอล ซึ่งเป็นการทีการออกกำลังกายหักโหมเกินไป
พันุกรรมที่ตาและยายเป็นหอบหืด
อาการ
:pencil2:
มีอาการไอกลางคืนแต่ไม่เหนื่อยหอบ ไข้ต่ำ ๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลากลางคืนรู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก น้ำหนักลดลง 2 kgw/ks
ตรวจร่างกาย
:pencil2:
ตรวจร่างกายพบ คอแดงเล็กน้อย หายใจมี suprasternal retraction ลักษณะการหายใจมีปกจมูกบาน conjunctiva ซีดเล็กน้อย ปลายนิ้วเริ่มเขียว capillary refill 4 sec ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation both lung ต่อมน้ำเหลืองไม่โต มีบวมที่ปลายเท้าเล็กน้อย มีน้ำหนักลด 2 kgใน 1 สัปดาห์
การตรวจพิเศษ
:pencil2:
ผล CBC normal, ผล Chest x - ray พบ infiltration เล็กน้อย ไม่พบ cardiomegaly, EKG ผล normal, AFB ผล negative พบว่าผลตรวจพิเศษไม่พบความผิดปกติใด ๆซึ่งในผู้ป่วยรายนี้ควรได้รับการตรวจพิเศษเพิ่มเติม ยกตัว อย่าง เช่น การทดสอบภาวะภูมิแพ้ การทดสอบภาวะbronchial hyper-responsiveness การตรวจภาวะ airway inflammation
การพยาบาล
:pencil2:
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน สัญญาณชีพและ O2 saturation ทุก 4 ชม.
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอนศีรษะสูง 30 - 45องศา และดูดเสมหะ
ดูแลให้ oxygen cannular 3 LPM
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนมากที่สุดเพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ประเมินผลการได้รับออกซิเจน โดยการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพวัดค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด และสีผิว
Plan for Treatment
At Ward
:red_flag:
Oxygen cannula 3 LPM
Salbutamol 1puff NB prn
Bromhexine 8 mg. 1 tab oral tid pc
PCM 500 mg. 1tab oral q 4-6 hr. prn
Ventolin 0.05 ml/kg/dose + NSS up to 3 ml NB q 4-6 hr
Terbutaline 5 mg. oral tid pc
Brown mixture 5 ml. oral tid ac
At ER
:red_flag:
5%DN/2 V rate 80 cc/hr
On Oxygen cannular 3 LPM / ifO2 sat<90%On Oxygen mask with bag 8 LPM
Ventolin solution 1cc+0.9% NSS up to4 ml NB
Beradual 2 ml +0.9 % NSS up to4 ml
Dexamethazone 10 mg V stat
หากอาการไม่ดีขึ้นให้ meptin 1 tab O stat
For D/C
:red_flag:
ให้ผู้ป่วยได้รับยา
Bisolvon 1 tab O tid pc
Precinisolone 3 tab O tid pc
Ventolin สูดพ่นทุกครั้งที่มีอาการ
PCM (500 mg) 1 tab O prn q 4-6 h
ให้มาพบแพทย์ตามนัดภายหลังออกจากโรงพยาบาล 2 สัปดาห์
ให้คำแนะนํา
หลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นส่งผลให้เกิดการระคายเคือง
ควรออกกําลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่อย่าหักโหม
จัดสภาพที่อยู่อาศัยห้องนอนมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบทุกประเภท รวมทั้งผักและผลไม้
Plan for diagnosis
Cadiac markers
Complete Blood Count (CBC)
Chest x- ray
pulmonary function test
Hemoculture
Arterial blood gas
Sputum gram stain
Tuberculin skin test
AFB stain
Spirometry
peak flow meter
CT scan
Eletrocardiogram
นางสาวประภัสรา สร้อยทอง เลขที่ 34 รุ่น 35